กรมเจ้าท่า เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 25 พ.ค. -10 มิ.ย. 2564 รวม 6 อัตรา,

แชร์เลย

กรมเจ้าท่าเปิดรับสมัครสอบข้าราชการ

กรมเจ้าท่า

ลิงค์: https://ehenx.com/14124/ หรือ
ตำแหน่ง: พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานตรวจท่าปฏิบัติการ
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 15,000-21,490
อัตราว่าง: 6
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 25 พ.ค. – 10 มิ.ย. 2564
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมเจ้าท่า เปิดรับสมัคร

ประกาศประกาศกรมเจ้าท่า
ที่ 87 /๒๕๖๔

เรื่อง รับสมัครคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ และตำแหน่งเจ้าพนักงานตรวจท่าปฏิบัติการ

ด้วยกรมเจ้าท่าจะดำเนินการคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง เจ้าพนักงานตรวจเรือปฏิบัติการ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกับหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔.๑/ว ๑๖ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ และ ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ■๑๙ กันยายน ๒๕๖๒ จึงประกาศรับสมัครคัดเลือกเพื่อบรรจุ และแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการและตำแหน่งเจ้าพนักงานตรวจท่า ปฏิบัติการ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เจ้าพนักงานตรวจท่าปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16200-21490 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางวิทยาการเดินเรือ และ

ได้รับประกาศนียบัตรอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้

  1. ได้รับประกาศนียบัตรนายประจำเรือฝ่ายเดินเรือของเรือกลเดินทะเล ขนาด ๕๐๐ ตันกรอส หรือมากกว่า หรือประกาศนียบัตรต้นเรือของเรือกลเดินทะเล ขนาด ๕๐๐ – ๓,๐๐๐ ตันกรอส จากกรมเจ้าท่า หรือที่กรมเจ้าท่าเทียบได้ไม่ตํ่ากว่านี้
  2. ได้รับประกาศนียบัตรต้นเรือของเรือกลเดินทะเล ขนาด ๓,๐๐๐ ตันกรอสหรือ มากกว่า หรือประกาศนียบัตรนายเรือของเรือกลเดินทะเล ขนาด ๕๐๐ – ๓,๐๐๐ ตันกรอส จากกรมเจ้าท่า หรือที่กรมเจ้าท่าเทียบไดไม่ตํ่ากว่านี้
  3. ได้รับประกาศนียบัตรนายเรือของเรือกลเดินทะเล ขนาด ๓,๐๐๐ ตันกรอสหรือมากกว่า จากกรมเจ้าท่าหรือที่กรมเจ้าท่าเทียบได้ไม่ตํ่ากว่านี้

เจ้าพนักงานตรวจท่าปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางวิทยาการเดินเรือ และ ได้รับประกาศนียบัตรอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้

  1. ได้รับประกาศนียบัตรนายประจำเรือฝ่ายเดินเรือของเรือกลเดินทะเล ขนาด ๕๐๐ ตันกรอส หรือมากกว่า หรือประกาศนียบัตรต้นเรือของเรือกลเดินทะเล ขนาด ๕๐๐ – ๓,๐๐๐ ตันกรอส จากกรมเจ้าท่า หรือที่กรมเจ้าท่าเทียบได้ไม่ตํ่ากว่านี้
  2. ได้รับประกาศนียบัตรต้นเรือของเรือกลเดินทะเล ขนาด ๓,๐๐๐ ตันกรอสหรือ มากกว่า หรือประกาศนียบัตรนายเรือของเรือกลเดินทะเล ขนาด ๕๐๐ – ๓,๐๐๐ ตันกรอส จากกรมเจ้าท่า หรือที่กรมเจ้าท่าเทียบไดไม่ตํ่ากว่านี้
  3. ได้รับประกาศนียบัตรนายเรือของเรือกลเดินทะเล ขนาด ๓,๐๐๐ ตันกรอสหรือมากกว่า จากกรมเจ้าท่าหรือที่กรมเจ้าท่าเทียบได้ไม่ตํ่ากว่านี้

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใซ้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานต้านตรวจท่า ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมี ลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้

1. ด้านการปฏิบัติการ

  1. ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอความเห็นเกี่ยวกับกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศใน ด้านการเดินเรือเพื่อยกระดับการเดินเรือ ให้เป็นไปตามพันธกรณีของอนุสัญญาระหว่างประเทศ ในฐานะรัฐ เจ้าของธง รัฐเมืองท่า และรัฐชายส่ง และ/หรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการขนส่งทางนํ้าความร่วมมือหรือ ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนส่งทางนํ้าและที่เกี่ยวข้องในภาพรวม
  2. ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการสอบความรู้ผู้ทำการในเรือให้สอดคล้องกับ ข้อกำหนดของอนุสัญญาระหว่างประเทศ
  3. ศึกษา วิเคราะห์ และประเมินข้อกำหนด รวมถึงมาตรฐานต่าง ๆ ตามอนุสัญญา แรงงานทางทะเล เพื่อนำเสนอแนวทาง และข้อเสนอแนะต่ออธิบดีกรมเจ้าท่า และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. ให้ความเห็นในฐานะผู้ชำนาญการต่อความเสียหายอันเนื่องมาจากการเดินเรือ สอบสวนพิจารณาความผิดเกี่ยวกับความสามารถหรือความประพฤติของผู้ถือประกาศนียบัตรผู้ควบคุมเรือ สอบสวนตรวจสอบหาสาเหตุและความเสียหายของเรือที่มีอุบัติเหตุโดนกันหรืออุบัติเหตุอื่น ๆ เพื่อให้เป็นไป ตามจารีตประเพณีการเดินเรือ และตามมาตรฐานความปลอดภัย กฎ ข้อบังคับ และอนุสัญญาระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้อง
  5. ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนะการดำเนินการเพื่อให้ประเทศไทยมีการปฏิบัติตาม พันธกรณีของอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง
  6. ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนะผลกระทบของการเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่าง ประเทศ
  7. ตรวจตราและควบคุมการเดินเรือ การจราจรทางนํ้า การขนล่งทางนํ้า รวมทั้งอำนวยความ สะดวกและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการขนล่งทางนํ้า รับแจ้งและตรวจเอกสารเรือไทยและเรือต่างประเทศที่เข้าและ ออกจากเขตท่า และ/หรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการขนส่งทางนํ้าทั่วไปเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการเดินเรือ
  8. . ตรวจพิจารณา การขออนุญาตกระทำและปลูกสร้างสิ่งล่วงลํ้าลำนํ้า การขออนุญาตขุด ลอก ดูดทราย หรือทั้งดินอับเฉา ตลอดจนสิ่งปฏิกูลหรือสิ่งอื่นใดลงในแม่นํ้าลำคลองที่มีการเดินเรือ ยกเว้นส่วน ที่เป็นหน้าที่ของส่วนราชการอื่น เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย
  9. พิจารณาการขออนุญาตจอดเรือเพื่อขนถ่ายนํ้ามันเชื้อเพลิงหรือสิ่งของที่ทำให้เกิด อันตราย การขออนุญาตใช้เรือทำการบรรทุกลำเลียงนํ้ามันเชื้อเพลิงและ/หรือวัตถุอันตรายในเขตท่า เพื่อให้ เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบและเกิดความปลอดภัย
  10. ควบคุมการตรวจปล่อยเรือเดินทะเลที่เข้าและออกจากเขตท่าเรือและเขตเมืองท่า และเรือเดินในเขตน่านนํ้าไทย เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและเป็นไปตามกฎหมาย และอนุสัญญาที่กำหนด
  11. พิจารณาข้อพิพาทเกี่ยวกับความเสียหายอันเนื่องมาจากการเดินเรือ สอบสวน พิจารณาความผิดเกี่ยวกับความสามารถหรือความประพฤติของผู้ถือประกาศนียบัตรผู้ควบคุมเรือ สอบสวน ตรวจสอบหาสาเหตุและความเสียหายของเรือที,มีอุบัติเหตุโดนกันหรืออุบัติเหตุอื่น ๆ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน ความปลอดภัย กฎ ข้อบังคับ และอนุสัญญาระหว่างประเทศและดำเนินคดีแก่ผู้ละเมิด เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย ว่าด้วยการเดินเรือในน่านนํ้าไทย กฎหมายว่าด้วยเรือไทยและกฎหมายว่าด้วยการป้องกันเรือโดนกัน
  12. สอบความรู้ผู้ทำการในเรือฝ่ายเดินเรือ เพื่อให้เป็นไปตามข้อบังคับ และระเบียบของ กรมเจ้าท่าที่กำหนด
  13. การชี้ระวังแนวเขตที่ดินริมส่งแม่นํ้า ทะเลอาณาเขต และชายหาด เพื่อมิให้มีการรุกลํ้า ทางนํ้าที่อยู่ในความดูแลของกรมเจ้าท่า
  14. ตรวจพิจารณาแผนรักษาความปลอดภัยของเรือและท่าเรือ ตามข้อบังคับภายใต้ อนุสัญญาระหว่างประเทศ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยในการเดินเรือ
  15. ควบคุมการทำสัญญาและเลิกจ้างลูกเรือ
  16. ตรวจสอบท่าเทียบเรือและอุปกรณ์ประจำท่าเทียบเรือให้มีความปลอดภัยในการนำ เรือเข้าเทียบท่า และตรวจสอบการขอต่ออายุการใช้ท่าเทียบเรือประจำปี
  17. ตรวจสอบและลงนามรับรองปูมปากเรือ (Deck Log Book) ก่อนพิจารณาออกสมุด ปูมปากเรือใหม่
  18. บริหารเขตท่าเรือและกำกับดูแลความปลอดภัยในการเดินเรือทะเล และการ ให้บริการช่วยเหลือเรือที่ประสบอุบัติเหตุทางนํ้า

2. ด้านการวางแผน

  1. วางแผนหรือร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานตามแผนงานหรือโครงการของ หน่วยงานระดับสำนักหรือกอง และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและ ผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
  2. วางแผนการดำเนินการด้านการเดินเรือตามกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ
  3. วางแผนกำหนดกรอบความปลอดภัยทางนํ้าในระดับหน่วยปฏิบัติการ
  4. วางแผนการทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของ อนุสัญญาระหว่างประเทศ
  5. วางแผนการทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้เกิดความปลอดภัยด้าน การจราจรทางนํ้าการใช้ร่องนํ้า การควบคุม การจราจร

3. ด้านการประสานงาน

  1. ประสานการทำงานร่วมกัน โดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคำแนะนำเบื้องต้น แก่สมาขิกในทีมงานและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธื้ตามที่ กำหนด
  2. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง และ/หรือให้ข้อคิดเห็นหรือคำแนะนำ เบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ ได้รับมอบหมาย
  3. ประสานงานหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสร้างความร่วมมือหรือ ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนล่งทางนํ้าและที่เกี่ยวข้องในภาพรวม
  4. ประสานงานหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสร้างความปลอดภัยใน กิจกรรมทางนํ้า สร้างความมั่นใจในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

4. ด้านการบริการ

  1. ให้คำปรึกษา แนะนำ ตอบปัญหา เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของการขนล่งและ การจราจรทางนํ้า และ/หรือการปฏิบัติงานด้านแรงงานทางทะเลตามกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศแก่ หน่วยงานราชการ เอกชน ประชาชนหรือองค์กรทั่วไป เพื่อให้ทราบข้อมูลความรู้ต่าง ๆ
  2. จัดทำข้อมูลเบื้องต้น รายงาน หรือฐานข้อมูลระบบสารสนเทศ เกี่ยวกับงานจราจรทางนํ้า เพื่อสนับสบุนภารกิจของส่วนราชการและประโยชน์ในการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงานหลักเกณฑ์หรือ มาตรการด้านความปลอดภัยต่าง ๆ
  3. เป็นวิทยากร ให้ความรู้ แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นในข้อมูลที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานแก่ หน่วยงาน

เจ้าพนักงานตรวจท่าปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใซ้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานต้านตรวจท่า ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมี ลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้

1. ด้านการปฏิบัติการ

  1. ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอความเห็นเกี่ยวกับกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศใน ด้านการเดินเรือเพื่อยกระดับการเดินเรือ ให้เป็นไปตามพันธกรณีของอนุสัญญาระหว่างประเทศ ในฐานะรัฐ เจ้าของธง รัฐเมืองท่า และรัฐชายส่ง และ/หรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการขนส่งทางนํ้าความร่วมมือหรือ ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนส่งทางนํ้าและที่เกี่ยวข้องในภาพรวม
  2. ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการสอบความรู้ผู้ทำการในเรือให้สอดคล้องกับ ข้อกำหนดของอนุสัญญาระหว่างประเทศ
  3. ศึกษา วิเคราะห์ และประเมินข้อกำหนด รวมถึงมาตรฐานต่าง ๆ ตามอนุสัญญา แรงงานทางทะเล เพื่อนำเสนอแนวทาง และข้อเสนอแนะต่ออธิบดีกรมเจ้าท่า และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. ให้ความเห็นในฐานะผู้ชำนาญการต่อความเสียหายอันเนื่องมาจากการเดินเรือ สอบสวนพิจารณาความผิดเกี่ยวกับความสามารถหรือความประพฤติของผู้ถือประกาศนียบัตรผู้ควบคุมเรือ สอบสวนตรวจสอบหาสาเหตุและความเสียหายของเรือที่มีอุบัติเหตุโดนกันหรืออุบัติเหตุอื่น ๆ เพื่อให้เป็นไป ตามจารีตประเพณีการเดินเรือ และตามมาตรฐานความปลอดภัย กฎ ข้อบังคับ และอนุสัญญาระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้อง
  5. ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนะการดำเนินการเพื่อให้ประเทศไทยมีการปฏิบัติตาม พันธกรณีของอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง
  6. ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนะผลกระทบของการเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่าง ประเทศ
  7. ตรวจตราและควบคุมการเดินเรือ การจราจรทางนํ้า การขนล่งทางนํ้า รวมทั้งอำนวยความ สะดวกและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการขนล่งทางนํ้า รับแจ้งและตรวจเอกสารเรือไทยและเรือต่างประเทศที่เข้าและ ออกจากเขตท่า และ/หรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับการขนส่งทางนํ้าทั่วไปเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการเดินเรือ
  8. . ตรวจพิจารณา การขออนุญาตกระทำและปลูกสร้างสิ่งล่วงลํ้าลำนํ้า การขออนุญาตขุด ลอก ดูดทราย หรือทั้งดินอับเฉา ตลอดจนสิ่งปฏิกูลหรือสิ่งอื่นใดลงในแม่นํ้าลำคลองที่มีการเดินเรือ ยกเว้นส่วน ที่เป็นหน้าที่ของส่วนราชการอื่น เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย
  9. พิจารณาการขออนุญาตจอดเรือเพื่อขนถ่ายนํ้ามันเชื้อเพลิงหรือสิ่งของที่ทำให้เกิด อันตราย การขออนุญาตใช้เรือทำการบรรทุกลำเลียงนํ้ามันเชื้อเพลิงและ/หรือวัตถุอันตรายในเขตท่า เพื่อให้ เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบและเกิดความปลอดภัย
  10. ควบคุมการตรวจปล่อยเรือเดินทะเลที่เข้าและออกจากเขตท่าเรือและเขตเมืองท่า และเรือเดินในเขตน่านนํ้าไทย เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและเป็นไปตามกฎหมาย และอนุสัญญาที่กำหนด
  11. พิจารณาข้อพิพาทเกี่ยวกับความเสียหายอันเนื่องมาจากการเดินเรือ สอบสวน พิจารณาความผิดเกี่ยวกับความสามารถหรือความประพฤติของผู้ถือประกาศนียบัตรผู้ควบคุมเรือ สอบสวน ตรวจสอบหาสาเหตุและความเสียหายของเรือที,มีอุบัติเหตุโดนกันหรืออุบัติเหตุอื่น ๆ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน ความปลอดภัย กฎ ข้อบังคับ และอนุสัญญาระหว่างประเทศและดำเนินคดีแก่ผู้ละเมิด เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย ว่าด้วยการเดินเรือในน่านนํ้าไทย กฎหมายว่าด้วยเรือไทยและกฎหมายว่าด้วยการป้องกันเรือโดนกัน
  12. สอบความรู้ผู้ทำการในเรือฝ่ายเดินเรือ เพื่อให้เป็นไปตามข้อบังคับ และระเบียบของ กรมเจ้าท่าที่กำหนด
  13. การชี้ระวังแนวเขตที่ดินริมส่งแม่นํ้า ทะเลอาณาเขต และชายหาด เพื่อมิให้มีการรุกลํ้า ทางนํ้าที่อยู่ในความดูแลของกรมเจ้าท่า
  14. ตรวจพิจารณาแผนรักษาความปลอดภัยของเรือและท่าเรือ ตามข้อบังคับภายใต้ อนุสัญญาระหว่างประเทศ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยในการเดินเรือ
  15. ควบคุมการทำสัญญาและเลิกจ้างลูกเรือ
  16. ตรวจสอบท่าเทียบเรือและอุปกรณ์ประจำท่าเทียบเรือให้มีความปลอดภัยในการนำ เรือเข้าเทียบท่า และตรวจสอบการขอต่ออายุการใช้ท่าเทียบเรือประจำปี
  17. ตรวจสอบและลงนามรับรองปูมปากเรือ (Deck Log Book) ก่อนพิจารณาออกสมุด ปูมปากเรือใหม่
  18. บริหารเขตท่าเรือและกำกับดูแลความปลอดภัยในการเดินเรือทะเล และการ ให้บริการช่วยเหลือเรือที่ประสบอุบัติเหตุทางนํ้า

2. ด้านการวางแผน

  1. วางแผนหรือร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานตามแผนงานหรือโครงการของ หน่วยงานระดับสำนักหรือกอง และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและ ผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
  2. วางแผนการดำเนินการด้านการเดินเรือตามกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ
  3. วางแผนกำหนดกรอบความปลอดภัยทางนํ้าในระดับหน่วยปฏิบัติการ
  4. วางแผนการทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของ อนุสัญญาระหว่างประเทศ
  5. วางแผนการทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้เกิดความปลอดภัยด้าน การจราจรทางนํ้าการใช้ร่องนํ้า การควบคุม การจราจร

3. ด้านการประสานงาน

  1. ประสานการทำงานร่วมกัน โดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคำแนะนำเบื้องต้น แก่สมาขิกในทีมงานและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธื้ตามที่ กำหนด
  2. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง และ/หรือให้ข้อคิดเห็นหรือคำแนะนำ เบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ ได้รับมอบหมาย
  3. ประสานงานหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสร้างความร่วมมือหรือ ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนล่งทางนํ้าและที่เกี่ยวข้องในภาพรวม
  4. ประสานงานหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสร้างความปลอดภัยใน กิจกรรมทางนํ้า สร้างความมั่นใจในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

4. ด้านการบริการ

  1. ให้คำปรึกษา แนะนำ ตอบปัญหา เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของการขนล่งและ การจราจรทางนํ้า และ/หรือการปฏิบัติงานด้านแรงงานทางทะเลตามกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศแก่ หน่วยงานราชการ เอกชน ประชาชนหรือองค์กรทั่วไป เพื่อให้ทราบข้อมูลความรู้ต่าง ๆ
  2. จัดทำข้อมูลเบื้องต้น รายงาน หรือฐานข้อมูลระบบสารสนเทศ เกี่ยวกับงานจราจรทางนํ้า เพื่อสนับสบุนภารกิจของส่วนราชการและประโยชน์ในการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงานหลักเกณฑ์หรือ มาตรการด้านความปลอดภัยต่าง ๆ
  3. เป็นวิทยากร ให้ความรู้ แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นในข้อมูลที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานแก่ หน่วยงาน

วิชาที่สอบ

พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียนอัตนัย เป็นภาษาอังกฤษ (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) ประกอบด้วย

  1. ความรู้เกี่ยวกับเรือและการพาณิชยนาวี
  2. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอนุสัญญาระหว่างประเทศของ IMO
  3. แปลเอกสารวิชาการด้านพาณิชยนาวีจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย

การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง โดยการสัมภาษณ์เป็นภาษาอังกฤษ (คะแนนเต็ม 100 คะแนน)

เป็นการประเมินความเหมาะสมกันตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบ และจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้วิธีการอื่น ใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่างๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท,วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ ของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับเพื่อนร่วมงาน รวมทั้งสังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอื่นๆ เป็นต้น และรวมถึงสมรรถนะหลัก สมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


เจ้าพนักงานตรวจท่าปฏิบัติการ

การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียนอัตนัย เป็นภาษาอังกฤษ (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) ประกอบด้วย

  1. ความรู้เกี่ยวกับเรือและการพาณิชยนาวี
  2. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอนุสัญญาระหว่างประเทศของ IMO
  3. แปลเอกสารวิชาการด้านพาณิชยนาวีจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย

การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง โดยการสัมภาษณ์เป็นภาษาอังกฤษ (คะแนนเต็ม 100 คะแนน)

เป็นการประเมินความเหมาะสมกันตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบ และจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้วิธีการอื่น ใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่างๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท,วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ ของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับเพื่อนร่วมงาน รวมทั้งสังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอื่นๆ เป็นต้น และรวมถึงสมรรถนะหลัก สมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง

วิธีการสมัครงานข้าราชการ กรมเจ้าท่า :สมัครทางอินเทอร์เน็ต

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 25 พ.ค. – 10 มิ.ย. 2564 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดไฟล์ “กรมเจ้าท่า

แผนที่ | ประกาศ 1 | 2 | 3 | เว็บรับสมัคร |