กทม. ครั้งที่ 1/2563 เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 22 ม.ค. -4 ก.พ. 2563 รวม 958 อัตรา,

แชร์เลย

กทม.ครั้งที่

“สอบ กทม. ครั้งที่ 1/2563”

ลิงค์: https://ehenx.com/6018/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน(ผู้นำกิจกรรมศิลปะ),เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน(ผู้นำกิจกรรมคหกรรมศาสตร์),เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน,นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน,นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน,นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน,นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน,พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน,พนักงานปกครองปฏิบัติงาน,พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงานโภชนากรปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ,นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ,นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ,นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ,นักพัฒนาการกีฬาปฏิบัติการ,นักโภชนาการปฏิบัติการ,นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ,นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ,นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ,นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ,มัณฑนากรปฏิบัติการ,นักวิชาการคลังปฏิบัติการ,นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,นักวิชาการจัดหาที่ดินปฏิบัติการ,นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ,นักวิชาการแผนที่ปฏิบัติการ,นักวิชาการศูนย์เยาวชนปฏิบัติการ(ผู้นำกิจกรรมคหกรรมศาสตร์),นักวิชาการศูนย์เยาวชนปฏิบัติการ(ผู้นำกิจกรรมพลศึกษา),นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ,วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ,วิศวกรโยธาปฏิบัติการ,สถาปนิกปฏิบัติการ,
ระดับการศึกษา: ปวช.ทุกสาขา,ปวช.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ป.ตรีทุกสาขา,ป.ตรี
อัตราเงินเดือน: 9,400-20,800
อัตราว่าง: 958
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 22 ม.ค. – 4 ก.พ. 2563
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**




สอบ กทม. ครั้งที่ 1/2563 กรุงเทพมหานครเปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 958 อัตรา

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ครั้งที่ 1/2563

ด้วยสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร (สำนักงาน ก.ก.) จะดำเนินการสอบแข่งขันเืพ่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 14(9) มาตรา 29 (7) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2554 มติ ก.ก. ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 และมติ ก.ก. ครั้งที่ 9/2561 เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญในตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จำนวน 49 ตำแหน่ง ดังต่อไปนี้

  • ถ้าผ่านภาค ก. ก.พ. แล้วไม่ต้องสอบ ภาค ก. กทม. ก็ได้
  • ไม่ผ่านภาค ก. ก.พ. ต้องสอบภาค ก. กทม. หากสอบผ่านการสอบครั้งต่อไปไม่ต้องสอบภาค ก. กทม. อีกตลอดชีวิต





ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน อัตราว่าง

เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 9 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 35 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 130 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 11 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 170 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 43 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน (ผู้นำกิจกรรมศิลปะ)

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน (ผู้นำกิจกรรมคหกรรมศาสตร์)

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 52 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 6 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 33 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 6 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 78 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 56 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 10 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 50 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส. ปวท. อนุปริญญา


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 25 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-16,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส., อนุปริญญา


โภชนากรปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9,400-11,500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช., ปวส., อนุปริญญา


เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 12 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 15 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-20,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 21 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 6 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักพัฒนาการกีฬาปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 6 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักโภชนาการปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 23 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


มัณฑนากรปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 19 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการจัดหาที่ดินปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 6 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการแผนที่ปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการศูนย์เยาวชนปฏิบัติการ (ผู้นำกิจกรรมคหกรรมศาสตร์)

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการศูนย์เยาวชนปฏิบัติการ (ผู้นำกิจกรรมพลศึกษา)

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 10 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 8 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรโยธาปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 45 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


สถาปนิกปฏิบัติการ

ประเภท : วิชาการ

อัตราว่าง : 11 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15,000-15,800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน

เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึงทางการเกษตร หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาธุรกิจเกษตรและสหกรณ์ ทางธุรกิจเกษตร สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ หรือสาขาวิชาพืชศาสตร์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์

เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาพณิชยการ ทางการบัยชี ทางการเลขานุการ ทางเลขานุการ หรือทางการขาย
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการธนาคารและธุรกิจการเงิน สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาเทคนิคการตลาด หรือสาขาวิชาการตลาด หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาการจัดการ หรือสาขาวิชาการบริหารธุรกิจ
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาพณิชยการ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร หรือสาขาวิชาการตลาด หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ทางการบัญชี ทางการตลาด ทางการเงินและการธนาคาร หรือทางการบริหารทั่วไป

เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาพณิชยการ ทางการบัญชี ทางเลขานุการ หรือทางการขาย
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาเลขานุการ สาขาวิชาเทคนิคการตลาด สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร หรือสาขาวิชาการธนาคารและธุรกิจการเงิน หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาบริหารธูรกิจ
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาการตลาด หรือสาขาวิชาการเงินและการธนาคาร หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ

เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาพณิชยการ ทางเลขานุการ ทางการขาย ทางภาษาต่างประเทศ หรือทางการประชาสัมพันธ์
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาพณิชยการ ทางเลขานุการ สาขาวิชาเทคนิคการตลาด หรือสาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาบริหารธูรกิจ หรือสาขาวิชานิเทศศาสตร์
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาการตลาด หรือสาขาวิชาการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาภาษาวรรณคดี

เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาพณิชยการ สาขาวิชาก่อสร้าง หรือสาขาวิชาเครื่องกล
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการธนาคารและธุรกิจการเงิน สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาเทคนิคการตลาด สาขาวิชาเลขานุการ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา หรือสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมเครื่องใช้สำนักงาน หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขาวิชาการจัดการ หรือสาขาวิชาบริหารธูรกิจ
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร สาขาวิชาการจัดการทั่วไป สาขาวิชาโยธา สาขาวิชาการก่อสร้าง หรือสาขาวิชาเครื่องกล หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ทางการบัญชี ทางการตลาด ทางการเงินและการธนาคาร หรือทางการบริหารทั่วไป

เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมี สาขาวิชาเคมีสิ่งทอ หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิคเขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรมปิโตรเคมี หรือสาขาวิชาเทคนิคเครื่องเย็นและปรับอากาศ หรือได้รับประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแทพย์ ซึ่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางเครื่องกล ทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางไฟฟ้า สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางเคมีปฏิบัติ หรือทางเคมี หรือสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ทางสิ่งทอ
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเคมีสิ่งทอ หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทางวิทยาศาสตร์ ทางวิศวกรรมศาสตร์ ทางเภสัชศาสตร์ ทางโภชนาการ ทางเคมีปฏิบัติ หรือทางเคมี

เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน (ผู้นำกิจกรรมศิลปะ)

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาศิลปกรรม ทางวิจิตรศิลป์ ทางศิลปประยุกต์ หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางหัตถกรรม
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาทัศนศิลป์ ทางวิจิตศิลป์ หรือสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ทางหัตถกรรม หรือทางศิลปประยุกต์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ ทางศิลปประดิษฐ์ ทางภาพพิมพ์ ทางศิลปการพิมพ์ ทางออกแบบนิเทศศิลป์ ทางออกแบบประยุกต์ศิลป์ หรือทางออกแบบพาณิชยศิลป์
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิจิตรศิลป์ ทางวิจิตศิลป์ หรือสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ทางหัตถกรรม หรือทางศิลปประยุกต์

เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน (ผู้นำกิจกรรมคหกรรมศาสตร์)

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคหกรรมศาสตร์
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ทั่วไป หรือทางคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาอาหารและโภชนการ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ทางการอาหาร หรือทางผ้าและเครื่องแต่งกาย
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคหกรรมศาสตร์ ทางคหกรรมทั่วไป

เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาพณิชยการ
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเลขานุการ หรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติประยุกต์ หรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ

เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ทางการอนามัย ทางผู้ช่วยพยาบาล ทางการสาธารณสุข หรือทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ซึ่งมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่า 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนต้น หรือไม่น้อยกว่า 1 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ทางการสาธารณสุข ทางการพยาบาล ทางการพยาบาลและผดุงครรภ์ ทางโภชนาการ ทางเซลล์วิทยา ทางการแพทย์แผนไทย หรือทางพนักงานอนามัย ซึ่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ทางการสาธารณสุข ทางการพยาบาล ทางโภชนาการ ทางพยาธิวิทยา หรือทางเซลล์วิทยา ซึ่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือประกาศนยีบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ทางการสาธารณสุข ทางการสาธารณสุขชุมชน ทางโภชนาการ ทางการแพทย์แผนไทย ทางเวชกิจฉุกเฉิน หรือทางสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ หรือสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์

เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิส์ ทางช่างอิเล็กทรอนิกส์ ทางช่างวิทยุและโทรคมนาคม ทางช่างวิทยุ ทางช่างโทรคมนาคม ทางช่างอิเล็กโทรนิกส์ ทางช่างไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ทางเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือทางช่างไฟฟ้า หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทางการสื่อสาร ทางสัญญาณวิทยุ หรือทางช่างวิทยุ
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า ทางช่างไฟฟ้า หรือสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางช่างไฟฟ้า หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางช่างไฟฟ้า
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ ทางช่างอิเล็กทรอนิกส์ ทางช่างโทรคมนาคม ทางช่างวิทยุและโทรคมนาคม ทางช่างวิทยุ หรือทางช่างไฟฟ้า

เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางช่างภาพ ทางการถ่ายภาพ ทางการถ่ายภาพและภาพยนตร์ ทางวิจิตรศิลป์ หรือทางศิลปประยุกต์ หรือสาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กโทรนิกส์ สาขาวิชาพณิชยศิปล์ หรือสขาวิชาออกแบบหรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนยีบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งทางช่างไฟฟ้า หรือช่างอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาวิชานิเทศศาสตร์
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางช่างภาพ ทางการถ่ายภาพ ทางการถ่ายภาพและภาพยนตร์ ทางวิจิตรศิลป์ ทางศิลปประยุกต์ หรือทางออกแบบพาณิยศิลป์ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาิชาใด สาขาวิชาหนึ่งทางการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ หรือทางโสตทัศนศึกษา

เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาพาณิชยการ ทางเลขานุการ ทางการเลขานุการ ทางภาษาต่างประเทศ หรือทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเลขานุการ สาขาวิชาการเลขานุการ หรือสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ทางบรรณารักษ์ศาสตร์
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเลขานุการ ทางเลขานุการ ทางการเลขานุการ หรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ทางบรรณารักษ์ศาสตร์ ทางบรรณารักษ์และสารนิเทศศาสตร์

นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเครื่องมือกลและซ่อมบำรุง หรือสาขาวิชาโลหะการ
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิคเขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกล หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในทางเครื่องกล
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขาวิชาเทคนิคโลหะ หรือสาขาวิชาเขียนแบบเครื่องกล

นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า หรือสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ทางไฟฟ้า หรือทางอิเล็กทรอนิกส์
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาวิชาก่อสร้าง
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิคเขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรม สำรวจ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาวิชาเทคนิคเครื่องเย็นและปรับอากาศ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียับตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทางไฟฟ้า หรือทางอิเล็กทรอนิกส์
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาโยธา สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาสำรวจ สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาก่อสร้าง สาขาวิชาเทคนิคโลหะ หรือสาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม

นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาก่อสร้าง
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมสำรวจ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา หรือสาขาวิชาเทคนิคการจัดการงานก่อสร้าง หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง

นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาก่อสร้าง สาขาวิชาสำรวจ หรือประกาศนียบัตรนักเรียนนายสิบแผนที่ ในสาขาวิชาสำรวจ ทางแผนที่จากกรมแผนที่ทหารบก
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมสำรวจ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา หรือสาขาวิชาเทคนิคการจัดการงานก่อสร้าง หรือสาขาวิชาสำรวจ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง

นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาิชาใดวิชาหนึ่งทางวิจิตรศิลป์ ศิลปะประยุกต์ ทางศิลปกรรม หรือทางออกแบบผลิตภัณฑ์
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาิชาใดวิชาหนึ่งทางวิจิตรศิลป์ ศิลปะประยุกต์ ทางศิลปกรรม หรือทางออกแบบผลิตภัณฑ์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาิชาใดวิชาหนึ่งทางวิจิตรศิลป์ ศิลปะประยุกต์ ทางศิลปกรรม หรือทางออกแบบผลิตภัณฑ์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาพณิชยการ สาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาก่อสร้าง หรือสาขาิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางช่างกลโรงงาน หรือทางช่างโลหะ
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ทางพณิชยการ สาขาิชาเลขานุการหรือการเลขานุการ สาขาวิชาเทคนิคเขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาเทคนิคเครื่องเย็นและปรับอากาศ หรือสาขาิชาเทคนิควิศวกรรมสำรวจ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ทางการตลาด ทางการบัญชี ทางการเลขานุการ หรอทางการเงินและการธนาคาร สาขาวิชาก่อสร้าง หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางเครื่องกล ทางอิเล็กทรอนิกส์ ทางไฟฟ้า หรือทางโลหะ
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิชาภาษาต่างประเทศธุรกิจ สาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาิชาโยธา สาขาวิชาการก่อสร้าง สาขาวิชาสำรวจ สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางพณิชยการ ทางช่างไฟฟ้า ทางช่างโลหะ หรือทางช่างกลโรงงาน หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาบริหารธูรกิจ ทางการตลาด ทางการบัญชี ทางการเลขานุการ ทางการเงิน หรือทางการเงินและการธนาคาร

พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาิชาพณิชยการ
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเลขานุการหรือการเลขานุการ หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางพณิชยการ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ทางการตลาด ทางการบัญชี ทางการเลขานุการ หรือทางการเงินและการธนาคาร
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเลขานุการ สาขาวิาภาษาต่างประเทศธุรกิจ หรือสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทางพณิชยการ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ ทางการตลาด ทางการบัญชี ทางการเลขานุการ ทางการเงิน หรือทางการเงินและการธนาคาร

พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

โภชนากรปฏิบัติงาน

  1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ
  2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาการอาหารและโภชนาการ
  3. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ

เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชาบริหารรัฐกิจ หรือสาขาวิชานิติศาสตร์


เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน และได้รับใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์


นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน


นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน


นักพัฒนาการกีฬาปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ ทางพลศึกษา หรือสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ทางพลศึกษา หรือทางวิทยาศาสตร์การกีฬา


นักโภชนาการปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ หรือสาขาวิชาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียไบด้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ทางเทคโนโลยีไฟฟ้า หรือทางเทคโนโลยีเครื่องกล สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ


นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางการคลัง หรือทางการบริหาร


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชาบริหารรัฐกิจ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ สาขาวิชาภาษา วรรณคดี หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งทางการบริหาร หรือทางการบริหารงานบุคคล


นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งทางจิตวิทยา สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ หรือสาขาวิชารัฐศาสตร์ ทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์รับอนุญาต


มัณฑนากรปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์หรือสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์


นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชานิติศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หรือสาขาวิชาบริหารธุรกิจ


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งทางคอมพิวเตอร์


นักวิชาการจัดหาที่ดินปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชานิติศาสตร์


นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ ทางการพาณิชย์ ทางการตลาด ทางการเงิน ทางการเงินและการธนาคาร ทางการจัดการ หรือทางการบัญชี หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์


นักวิชาการแผนที่ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพทางภูมิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์แผนที่ ทางภูมิศาสตร์กายภาพ ทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือทางธรณีวิทยา


นักวิชาการศูนย์เยาวชนปฏิบัติการ (ผู้นำกิจกรรมคหกรรมศาสตร์)

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ ทางอาหารและโภชนาการ


นักวิชาการศูนย์เยาวชนปฏิบัติการ (ผู้นำกิจกรรมพลศึกษา)

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาศึกษาศาสตร์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ทางพลศึกษา หรือทางวิทยาศาสตร์การกีฬา


นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งทางจิตวิทยา หรือทางสุขศึกษา สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาแพทยศาสตร์ สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย หรือสาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์


วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียไบด้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมเครื่องกล และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด


วิศวกรโยธาปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ใสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมโยธา ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ทางวิศวกรรมสุขาภิบาล ทางวิศวกรรมชลประทาน หรือทางวิศวกรรมโครงสร้าง และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด


สถาปนิกปฏิบัติการ

ได้รับปริญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน

  1. ควบคุม การปฏิบัติงานของคนงานและเจ้าหน้าที่ และให้บริการด้านรักษาความสะอาดและการรักษาสภาวะแวดล้อม เช่น การทำความสะอาดถนนและตรอกซอยสาธารณะ การเก็บขนและกำจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล ไขมันน้ำมัน ของเสียอันตราย และสิ่งเปรอะเปื้อนในเขตกรุงเทพมหานคร การปลูกดูแลและบำรุงรักษาต้นไม้ ดูแลพื้นที่สีเขียว เป็นต้น
  2. ดูแล รักษาความสะอาดบริเวณโบราณสถาน สถานที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรมต่างๆ ในพื้นที่เขตความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความสะอาดเรียบร้อยแก่ผู้พบเห็น หรือนักท่องเที่ยว
  3. ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณที่เกี่ยวกับงานรักษาความสะอาด เช่น การคิดค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ การออกแบบใบแจ้งหนี้เก็บค่าธรรมเนียม เป็นต้น เพื่อให้งานรักษาความสะอาดเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับที่กำหนดไว้

เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน

  1.  ช่วยทำการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ทดลอง ทดสอบ วิเคราะห์ ตรวจสอบ รับรองทางด้านวิชาการเกษตร เพื่อให้มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
  2. ผลิต และให้บริการ ด้านการเกษตรและปัจจัยการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตตามเป้าหมายและมีคุณภาพตามมาตรฐาน
  3. ปฏิบัติากรด้านวิชาการเกษตร เช่น การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย การพัฒนาที่ดิน การส่งเสริมการเกษตร การจัดการไร่นา การใช้น้ำ เป็นต้น เพื่อสนับสนุนงานวิชาการและเผยแพร่ความรู้แก่เกษตรกรและบุคคลทั่วไป
  4. ช่วยวางแผน ส่งเสริมการผลิต จัดทำโครงการสนับสนุนการผลิตของเกษตรกร และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การอนุรักษ์ฟื้นฟูการเปลูกพืชประจำถิ่น การอนุรักษ์ธรรมชาติโดยลดการใช้สารเคมีในการเกษตร การเพาะเลี้ยงแมลงเพื่อการศึกษาและนันทนาการ เป็นต้น เพื่อเป็นการเพิ่มผลผลิตของเกษตรกรและอนุรักษ์พันธุ์พืชหายาก
  5. สำรวจ ช่วยวางแผน ปรับปรุงที่ว่างในบริเวณต่างๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานครและการออกแบบ ตกแต่งปรับปรุงภูมิทัศน์ของพื้นที่สีเขียวและสวนสาธารณะ เพื่อใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์และร่มรื่นสวยงาม
  6. จัดเตรียม ตรวจสอบ ดูแลรักษาเครื่องมือ อุปกรณืต่างๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติงานให้อยู่ในสภาพดี และเพียงพอต่การใช้งาน เืพ่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  7. ปฏิบัติงานด้านการเกษตร เช่น ผลิต ดูแลและบำรุงรักษาไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้ยืนต้น เป็นต้น เพื่อนำไปปลูกและตกแต่งในพื้นที่ หรือในพิธีสำคัญ หรือวันสำคัญต่างๆ
  8. สาธิต แนะนำ ส่งเสริม ฝึกอบรม ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยจัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้ เพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์
  9. ประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการต่างๆ และแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาการเกษตรเพื่อให้มีการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ

เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

  1. จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
  2. รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบในการทำงบประมาณประจำปีของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  3. ตรวจสอบและดูความถูกต้องของเอกสารสำคัญทางการเงิน เืพ่อให้เกิดความถูกต้องในการปฏิบัติงาน
  4. ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  5. าให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
  6. ประสานงานในระดับกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและความร่วมมือในงานการเงินและบัญชี และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ

เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

  1. ควบคุม ดูแล ติดตั้ง บำรุงรักษา ซ่อมแซม ตรวจสอบการทำงาน แก้ไขปัญหาการใช้งานของระบบเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ระบบเครือข่ายสื่อสาร รวมทั้งระบบสนับสนุนต่างๆ เพื่อให้ระบบงานต่างๆ สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
  2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล ปรับปรุง ดูแล รักษาความปลอดภัย จัดเก็บ สำรองกู้คืนข้อมูล เพื่อสนับสนุนการใช้ประโยชน์ข้อมูล และป้องกันการสูญหายของข้อมูล
  3. จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
  4. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
  5. ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม และมีประสทธิภาพ

เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

  1. ปฏิบัติงานด้านการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีป้าย ค่าธรรมเนียม ค่าเช่า ค่าบริกา และรายได้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องตามกฎหมาย เพื่อให้การจัดเก็บรายได้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
  2. เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบการจัดเก็บค่าธรรมเนียม จัดเก็บภาษีของฐานภาษีรายใหม่ และที่ค้างชำระ เพื่อให้สามารถจัดเก็บได้อย่างครบถ้วน
  3. ตรวจสอบการรับเงิน เก็บรักษา นำส่งเงิน และออกใบเสร็จในการจัดเก็บรายได้ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ ข้อบังคับ คำสั่ง
  4. รวบรวมข้อมูล เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็ฐรายได้ และเก็บรักษาหลักฐานเพื่อเป็นข้อมูล และรายงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามกำหนดระยะเวลา
  5. จัดทำทะเบียนควบคุมการจัดเก็บรายได้ สถิติการจัดเก็บรายได้แต่ละประเภท รวมถึงจัดเก็บข้อมูลที่เกีย่วข้องด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตามระบบงานของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องและสามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
  6. ดูแล ตรวจสอบ ดำเนินการเบิกจ่ายการของบประมาณของหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อตรวจสอบให้วงเงินอยู่ในงบประมาณรายจ่ายที่กรุงเทพมหานครกำหนด
  7. ให้คำปรึกษาและแนะนำในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ตลอดจนเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัิงานให้แก่ผู้ที่สนใจให้เกิดความเข้าใจและปฏิบัตงานได้อย่างถูกต้อง
  8. ประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานและก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน

เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

  1. ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือ โต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่างๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวกราบรื่นและมีหลักฐานตรวจสอบได้
  2. รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
  3. ดำเนนิการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เืพ่อให้มีอุปรกณืที่มีคุณภาพไว้ใช้งานและอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
  4. รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่างๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
  5. ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการเดียวกัน หรือหน่วยงานหรือส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
  6. ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
  7. ผลิตเอกสารรต่างๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย

เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน

  1. รวบรวมและช่วยจัดทำเอกสาร ภาพและข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ใน้ดานต่างๆ เพื่อใช้จัดทำสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  2. สำรวจและรวบรวมความคิดเห็นของประชาชน เพื่อเป็นข้อมูลในการดำเนินงานภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  3. ปรับปรุงทะเบียนสื่อมวลชน เพื่อเก็บรวบรวมไว้เป็นข้อมูลของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  4. ให้บริการด้านประชาสัมพันธ์ในการติดต่อ ต้อนรับ ชี้แจงทั่วๆ ไป เพื่อไขข้อข้องใจและช่วยตอบคำถามให้แก่ประชาชน
  5. ดำเนินการประชาสัมพันธ์โดยวิธีการต่างๆ เพื่อเผยแพร่ ให้ความรู้ความเข้าใจอันดีเกี่ยวกับการดำเนินงาน หรือผลงานของกรุงเทพมหานคร หรือนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
  6. เผยแพร่ แจกจ่ายข่าวสาร และเอกสารเกี่ยวกับความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อประชาสัมพันธ์งานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  7. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบแก่ผู้ร่วมงานหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
  8. ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกัน ต่างหน่วยงานหรือประชาชนทั่วไป เืพ่อให้บริการ หรือขอความร่วมมือเกี่ยวกับข้อมูลเพื่อใช้ในงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ที่ตนรับผิดชอบ
  9. อำนวยความสะดวกแก่ผู้มาติดต่อ ด้วยการให้ความรู้ในด้านต่างๆ ตามที่ตนปฏิบัติหน้าที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านข้อมูลข่าวสารที่ดีจากรัฐ

เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

  1. ปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุในการจัดหา จัดซื้อ ว่าจ้าง การเก็บรักษา นำส่ง การซ่อมแซม และบำรุงรักษาพัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณืเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ เพื่อให้อยู่ในสภาพดีพร้อมต่อการใช้งาน
  2. ทำทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญหลักฐานและอกสารเกี่ยวกับพัสดุ เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
  3. ร่างและตรวจสัญญาซื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึกย่อเรื่องเกี่ยวกับงานพัสดุเพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินงาน
  4. รายงาน สรุปความเห็นเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผู้บังคับบัญชาในหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  5. ศึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับระเบียบงานพัสดุ เพื่อร่วมพัฒนาให้ระเบียบการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น
  6. ชี้แจงรายละเอียดข้อเท็จจริงเกีย่วกับงานพัสดุ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้
  7. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบแก่ผู้ร่วมงาน หรือหน่วยงานหรือส่นวราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
  8. ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานหรือส่วราชการเดียวกัน ต่างหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการ หรือขอความช่วยเหลือในด้านที่ตนรับผิดชอบ

เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน

  1. จัดตเรียม ดูแลรักษาเครื่องมือ อุปกรณ์ เคมีภัณฑ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งจัดทำทะเบียนการเบิกจ่ายวัสดุ และเคมีภัณฑ์ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  2. ช่วยปฏิบัติงานวิเคราะห์ทดสอบ สอบเทียบ วิจัยเบื้องต้น และช่วยรวบรวมข้อมูล เพื่อให้นักวิชาการสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว
  3. ให้คำแนะนำ และคำปรึกษาแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องในเรื่องเกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ

เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน (ผู้นำกิจกรรมศิลปะ)

  1. จัดกิจกรรมด้านต่างๆ แก่เยาวชนที่เป็นสมาชิกศูนย์เยาวชน เพื่อให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น กิจกรรมด้านพลศึกษา ศิลปะ นาฏศิลป์ ห้องสมุด คหกรรมศาสตร์ การจัดกิจกรรมพิเศษ การจัดทัศนศึกษา ค่ายพักแรม และการจัดสนามเด็กเล่น เป็นต้น
  2. ส่งเสริมกิจกรมต่างๆ ของเยาวชนและประชาชนทั่วไป เพื่อให้มีการพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจที่ดี
  3. ดูแล จัดเก็บ บำรุงรักษา ซ่อมแซม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบกิจกรรมต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้การดำเนินกิจกรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. รวบรวม ติดตาม จัดเก็บข้อมูล เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงงานศูนย์เยาวชนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  5. อำนวยความสะดวก ให้คำปรึกษา แนะนำ หรือให้ข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับงานศูนย์เยาวชนแก่ผู้ทีส่นใจ เพื่อให้รับทราบข้อมูลที่ถูกต้อง และเกิดความรู้ ความสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
  6. ติดต่อประสานงานกับบุคลากรภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน (ผู้นำกิจกรรมคหกรรมศาสตร์)

  1. จัดกิจกรรมด้านต่างๆ แก่เยาวชนที่เป็นสมาชิกศูนย์เยาวชน เพื่อให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น กิจกรรมด้านพลศึกษา ศิลปะ นาฎศิลป์ ห้องสมุด คหกรรมศาสตร์ การจัดกิจกรรมพิเศษ การจัดทัศนศึกษา ค่ายพักแรม และการจัดสนามเด็กเล่น เป็ฯต้น
  2. ส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ ของเยาวชนและประชาชนทั่วไป เพื่อให้มีพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจที่ดี
  3. ดูแล จัดเก็บบำรุงรักษา ซ่อมแซม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบกิจกรรมต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้การดำเนินกิจกรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. รวบรวม ติดตาม จัดเก็บข้อมูล เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงงานศูนย์เยาวชนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  5. อำนวยความสะดวก ให้คำปรึกษา แนะนำ หรือให้ข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับงานศูนย์เยาวชนแก่ผู้ที่สนใจ เพื่อให้รับทราบข้อมูลที่ถูกต้อง และเกิดความรู้ สามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
  6. ติดต่อประสานงานกับบุคลากรภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

  1. สำรวจ จัดทำ รวบรวม ตรวจสอบข้อมูลสถิติที่มีความซับซ้อนไม่มากนัก เพื่อเป็นฐานข้อมูลหรือข้อมูลสนับสนุนในการจัดทำเอกสารทางวิชาการต่างๆ
  2. สนับสนุนการปฏิบัติงานสำรวจสถิติ อาทิ ช่วยในการจัดร่างตารางรายงานสถิติ ช่วยร่างแบบสอบถาม เพื่อให้การปฏิบัติงานสำรวจสถิติดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
  3. จัดหมวดหมู่ และจัดทำทะเบียนข้อมูลสถิติ เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการค้นหาข้อมูล
  4. ให้บริการข้อมูลสถิติแก่บุคคลที่สนใจ เพื่อให้บุคคลเหล่านั้นได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง
  5. ให้คำปรึกษา แนะนำแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานดำเนินไปอย่างราบรื่น

เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

  1. ให้บริากรในงานด้านการสาธารณสุข เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีมาตรฐานและสุขภาวะที่ดี
  2. ควบคุม ตรวจสอบ แนะนำการดำเนินกิจการที่มีผลกระทบด้านการสาธารณสุข เช่น ตลาดสถานที่จำหน่ายอาหาร สถานที่สะสมอาหาร สถานบริการต่างๆ ฌาปนสถาน เป็นต้น รวมทั้งการส่งเสริม ควบคุม รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามมาตรฐานและกฎหมายบที่กำหนด
  3. เก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอเจ้าหน้าที่ระดับสูงขึ้นไป
  4. ดูแล บำรุงรักษา เวชภัณฑ์เครื่องมืออุปกรณื เพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและเป็นไปตามมาตรฐาน
  5. ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ ในงานด้านการสาธารณสุขเบื้องต้น แก่ประชาชน เพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
  6. ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการเดียวกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ

เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

  1. ปฏิบัติงานเกียวกับการสื่อสาร รับ-ส่ง ข่าวสารด้าวยระบบต่างๆ เช่น โทรศัพท์ วิทยุ โทรพิมพ์ เครื่องมือสื่อสารอื่น ที่เกี่ยวข้อง ระบบโครงข่าย โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม รวมทั้งระบบสื่อสารสารสนเทศอื่นๆ เป็นต้น เพื่อให้การับ-ส่งข่าวสารเป็นไปด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว และทันเหตุการณื
  2. รวบรวม คัดเลือก ตรวจสอบ และเรียบเรียงข่าว จัดแยกประเภทข้อมูล จัดเข้ารูปแบบฟอร์มสากล เพื่อให้ข่าวสารที่ได้รับมีความน่าเชื่อถือสูงและสามารถใช้อ้างอิงได้อย่างถูกต้อง
  3. ให้บริการข้อมูลสื่อสารผ่านระบบสื่อสารและระบบสารสนเทศต่างๆ ให้กับบุคคลและหน่วยงาน หรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เืพ่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในกิจการต่างๆ
  4. จัดทำรายงานข่าวสาร หรือสถิติรับ-ส่ง ข้อมูลข่าวสารเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในงานสื่อสารและนำไปปรับปรุงและพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  5. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานสื่อสารที่ตนรับผิดชอบแก่บุคคลในหน่วยงานหรือส่วนราชการเดียวกัน หรือหน่วยงานหรือส่วราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและการปฏิบัตงานเป็นไปด้วยความมีประสิทธิภาพ
  6. ประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการภายในและภายนอก รวมทั้งประชาชนทั่วไปเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็วมีประสิทธิภาพ

เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน

  1. จัดทำแผนภาพ แผนภูมิ กราฟ โปสเตอร์แผนที่และตารางแสดงสถิติข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้ในการประชุม สัมมนา ฝึกอบรม และการแสดงนิทรรศการต่างๆ
  2. ใช้และควบคุมการใช้เครื่องโสตทัศูปกรณ์ ประเภทต่างๆ เช่น เครื่องฉายภาพยนต์ เครื่องฉายภาพนิ่ง เครื่องเสียงต่างๆ เป็นต้น เพื่อประกอบการประชุมสัมมนา หรือฝึกอบรมต่างๆ
  3. เก็บรักษาซ่อมบำรุงโสตทัศนูปกรณื
  4. ติดตาม รวบรวมและจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
  5. ติดต่อประสานงานกับบุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานหรือส่วราชการ เืพ่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความรวดเร็วและมีประสเิทธิภาพ
  6. ให้คำแนะนำ ข้อมูล และให้บริการในเรื่องที่อยู่ในความรับผิดชอบในประเด็นที่ไม่มีความซับซ้อน ภายใต้กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือวิธีปฏิบัติที่ชัดเจน หรือภายใต้การควบคุมดูแลของผู้บังคับบัญชา

เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน

  1. ลงทะเบียนทรัพยากรสารสนเทศ เืพ่อเตรียมการจัดระบบหนังสือ
  2. ช่วยบรรณารักษ์ในการจัดและจำแนกทรัพยากรสารสนเทศ เช่น จัดทำคำค้น ดัชนี กฤตภาค บรรณานุกรม เป็นต้น เพื่อการบริการและการสืบค้น
  3. ดูแล เก็บรักษา ซ๋อมแซมหนังสือ เพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้บริการ
  4. ดูแล อาคาร สถานที่ วัสดุครุภัณฑ์ของห้องสมุด เพื่อให้ห้องสมุดมีบรรยากาศที่ดี
  5. ให้บริการแนะนำแหล่งข้อมูลและวิธีการใช้ห้องสมุดแก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เข้าใช้บริการ เพื่ออำนวยความสะดวก
  6. ร่วมจัดกิจกรรมและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเข้าใช้บริการห้องสมุด

นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

  1. ดำเนินการตรวจสอบ บำรุงรักษา ซ่อมแก้ไข ปรับปรุง เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมืออุปกรณ์ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้พร้อมใช้อยู่เสมอ
  2. ดำเนินการออกแบบ เขียนแบบเครื่องกล การผลิตชิ้นส่วนเครื่องมือและอุปกรณื ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบ สอบเทียบเครื่องมือ ประมาณราคา เครื่องจักรกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและเหมาะสมกับการใช้งาน
  3. สำรวจ รวบรวมข้อมูล จัดทำสถิติ ประวัติการบำรุงรักษา การซ่อมเครื่องจักรกล เครื่องมือกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อเป็นข้อมูลหลักฐานสำหรับนำไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงงาน
  4. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
  5. ให้คำแนะนำและบริการแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจในการทำงาน

นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

  1. สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุมการใช้งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพตอบสนองความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการภายในและภายนอก
  2. จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
  3. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานหรือส่วรนาชการ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
  4. ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ

นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

  1. ดูแล ควบคุม ตรวจสซ่อมและบำรุงรักษา ระบบสาธารณูปโภค เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณืต่างๆ วัสดุและครุภัณฑ์อื่นๆ ในความรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและพร้อมในการใช้งาน
  2. ซ่อม สร้าง ผลิต ประกอบ ดัดแปลง เขียนหรือออกแบบ ติดตั้ง เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งการทดลองใช้เครื่องจักร เครื่องกล และสิ่งก่อสร้าง เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชาและมาตรฐานงานช่าง และให้เกิดความปลอดภัย
  3. ให้คำปรึกษา แนะนำ จัดทำข้อมูล ถ่ายทอดความรู้ทั้งในเชิงทักษะเฉพาะด้านและทักษะทั่วไปให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการที่รับผิดชอบ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชน เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
  4. ติดต่ประสานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย

นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

  1. สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่างๆ เพื่อให้ตรงตามหลักวิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงานหรือส่วราชการ และงบประมาณที่ได้รับ
  2. ตรวจสอบ แก้ไข และกำหนดรายละเอียดของงานที่ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
  4. ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับมอบหมายพร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้ป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
  5. รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล งานด้านโยธาและด้านระบบระบายน้ำ จัดทำระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง
  6. ดำเนินการป้องกัน แก้ไขปัญหาน้ำท่วม และระบบการระบายน้ำ เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
  7. ปฏิบัติงานด้านบำรุงรักษาแหล่งรับน้ำให้มีที่ว่างเพียงพอ เพื่อสำรองรับน้ำ
  8. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและฝึกอบรมเกี่ยวกับงานโยธาที่รับผิดชอบ แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ และมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัตงาน
  9. ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงาน เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย

นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน

  1. สำรวจ รังวัด คำนวณ ตรวจสอบ จำแนกรายละเอียดของภาพถ่ายทางอากาศ จัดทำแผนที่ แผนผัง เช่น การสำรวจและคัดเลอกระวางโฉนดที่ดิน การจัดทำแผนที่การบริการด้านสาธารณสุข เป็นต้น เพื่อให้ทราบรายละเอียด และเป็นไปตามแบบที่กำหนด สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. แก้ไขปัญหาเบื้องต้นจากการปฏิบัติงาน เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของงานที่กำหนดไว้
  3. วัดระดับของภูมิประเทศ วางโครงข่ายหมุดหลักฐาน จัดทำระบบการจัดการและปรับปรุงชุดข้อมูลภูมิศาสตร์พื้นฐาน แผนที่ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  4. บันทึก ตรวจสอบ จัดเก็บ รายละเอียดต่างๆ ที่ได้จากการสำรวจและรายงานผล เพื่อติดตามความก้าวหน้าของงาน
  5. กำหนดขั้นตอนการปฏิบัตงาน และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และรายละเอียดต่างๆ ที่ได้จากการสำรวจ เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มีความถูกต้อง
  6. จัดเก็บ บำรุงรักษา เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงาน ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
  7. ให้คำปรึกษา แนะนำทั้งในเชิงทักษะเฉพาะด้านและทักษะทั่วไปแก่บุคลากรทุกสายางน เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความสามารถและมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิยัติงานในหน้าที่
  8. ติดต่อประสานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวขจ้อง เพื่อการดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

  1. ออกแบบงานศิลป์ บอร์ด ป้ายประกาศ ป้ายโฆษณา ฉาก เวทีของหน่วยงานหรือส่วนราชการ ผังสถานที่ สื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อประกอบกิจกรรมต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ สวยงาม และสนื่อความได้เป็นอย่างดี
  2. ดูแล จัดเก็ฐ บำรุงรักษา ซ่อมแซมวัสดุอุปกรณ์การทำงานให้เป็นระบบเพื่อให้อุปกรณ์อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ
  3. ให้คำแนะนำ การออกแบบ เทคนิค การจัดงานศิลป์ การจัดนิทรรศการแก่บุคลากรทั้งภายในและภายนอก เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในงานศิลป์
  4. ช่วยจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ คู่มือ หนังสือ แผ่นพับและนิทรรศการ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างภาพพจน์ และส่งเสริมการออกแบบงานศิลป์

พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

  1. สืบสวน สอบสวน กรณีที่ผู้ต้องหาไม่ยอมตามที่ปรับหรือเมื่อยอมแล้วไม่ชำระค่าปรับภายในกำหนดเวลา สอบถามข้อเท็จจริงหรือสั่งให้แสดงเอกสารหรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องจากบุคคลที่อยู่หรือทำงานในสถานที่นั้น และให้มีอำนาจยึดหรืออายัดเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะหรือสิ่งใดๆ ที่เกี่ยวกับการกระทำผิดรวมทั้งมีอำนาจจับกุมผู้กระทำผิด ดำเนินการให้การเปรียบเทียบปรับ ดำเนินคดี และบังคับการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร และกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งด้านคดีอาญา การบังคับการทางแพ่งและการบังคับทางปกครองที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร เช่น การบังคับรื้อถอนอาคาร การห้ามเข้าห้ามใช้อาคารผิดกฎหมาย เป็นต้น
  2. เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ช่วยหรือดำเนินการเกี่ยวกับการยึดอายัดทรัพย์สิน เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร หรือกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัตราชการทางปกครองเพื่อดำเนินคดีหรือขายทอดตลาดแล้วแต่กรณี
  3. ตรวจสอบและจัดระเบียบ หาบเร่ แผงลอย จุดผ่อนผัน จุดทบทวน จุดกวดขันพิเศษ จุดห้ามขายเด็ดขาด นอกจุดผ่อนผันและทบทวน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
  4. ตวรจตรา เฝ้าระวังการดำเนินงานต่างๆ ของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
  5. ปฏิบัติงานมวลชนสัมพัะนธ์ งานกิจการพิเศษ งานให้บริการ เช่น งานช่วยอำนวยการจราจร งานสายตรวจจักรยาน งานสายตรวจชุมชน งานสายตรวจเดินเท้า งานช่วยอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
  6. ตรวจตราพื้นที่ รวมถึงสนับสนุน ช่วยเหลืออำนวยความสะดวกในงานบรรเทาสาธารณภัย ดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองตามสิทธิและข้อบังคับของกฎหมาย
  7. ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
  8. ช่วยงานด้านธุรการ และคดี เช่น งานเสมียนคดี ลงบันทึกากรจับกุม บันทึกเปรียบเทียบปรับ บันทึกรายงานประจำวัน เป็นต้น
  9. การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ให้คำปรึกษาแนะนำงานบริการต่างๆ ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการดำเนินงาน ส่งเสริมให้การปฏิบังานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  10. รับเรื่องร้องทุกข์ หรือเรื่องราวความเดือดร้อนของประชาชน เพื่อเสนอผู้บังคับบัญชาหรือหน่วยงานหรือสว่นราชการที่เกีย่วข้องให้ดำเนินการแก้ไข

พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

  1. ปฏิบัติงานในฐานะผู้สนับสนุนให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติงานหลักของหน่วยงานหรือส่วนราชการที่ดำเนินการทางปกครอง เช่น การทะเบียนปกครอง การทะเบียนราษฎร การทะเบียนทั่วไป การปกครองท้องที่ การช่วยปฏิบัติงานการเลือกตั้งทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น การทำประชามติ การป้องกันและรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินการตามภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการบรรลุผลสัมฤทธิ์
  2. รับเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับการบังคับการทางปกครองหรือการให้บริกาทางปกครองที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานหรือส่วราชการ เช่น การเพิกถอนทะเบียนสมาคม การจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน การจัดทำทะเบียนพาณิชย์ การจัดทำทะเบียนต่างด้าว การจัดทำทะเบียนมูลนิธิ เป็นต้น
  3. อำนวยความสะดวกในการจัดฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และสร้างความรู้ความเข้าใจที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น บทบัญญัติกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับหรือประกาศที่ใช้ในการปฏิบัติงาน การอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน การอบรมลูกเสือชาวบ้าน การจัดทำคู่มือสำหรับการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เป็นต้น
  4. ให้คำปรึกษา แนะนำ ชี้แจง และประชาสัมพันธ์ขั้นตอนงานบริการต่างๆ ที่อยู่ในความับผิดชอบ ให้แก่ประชาชน หน่วยงานหรือส่วนราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่ออำนวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชน หน่วยงานหรือส่วนราชการนั้น
  5. ประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาในการให้บริการสาธารณะ

พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

  1. ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตรวจตรา รับแจ้งเหตุ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
  2. ดำเนินการระงับอัคคีภัย และภัยพิบัติอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่รับผิดชอบ การกู้ภัย การช่วยเหลือผู้ประสบภัย การรับมือกับเหตุร้ายในรูปแบบต่างๆ เพื่อความปลอดภัยและบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้น
  3. จัดเตรียม ดูแล รักษาเครื่องมืออุปกรณ์ ตลอดจนยานพาหนะต่างๆ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ในการปฏิบัติงานอยู่เสมอ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. รวบรวม จัดทำข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน เช่น สำรวจแหล่งน้ำ เส้นทางจราจร แหล่งชุมชนต่างๆ บริเวณหรือพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดภัย เป็นต้น เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างสะดวกและทันต่อเหตุการณ์
  5. จัดทำรายงาน บันทึก และสถิติข้อมูลต่างๆ ในงานป้องกันบรรเทาสาธารณภัย เพื่อรายงานผู้บังคับบัญชา
  6. ให้คำปรึกษาแนะนำในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
  7. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้แก่หน่วยงานราชการ หรือเอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสามารถแก้ไขสถานการณ์ในเบื้องต้นได้ด้วยตนเอง
  8. ประสานงันกับหน่วยงานหรือส่วนราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานและก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน

โภชนากรปฏิบัติงาน

  1. ให้บริการอาหารตามหลักโ๓ชนาการ โภชนาบำบัด เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับพลังงาน สารอาหารครบถ้วนและปลอดภัย
  2. จัดเตรียม ดูแล บำรุงรักษา เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและเป็นไปตามมาตรฐาน
  3. เก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอเจา้หน้าที่ระดับสูงขึ้นไป
  4. ให้คำแนะนำด้านอาหารตามหลักโภชนาการ โภชนาบำบัด แก่ผู้ใช้บริการ เพื่อให้มีความรู้สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
  5. ประสานงานการทำงานร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ

เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

  1. สืบสวน สอบสวนกรณีที่ผู้ต้องหาไม่ยอมตามที่ปรับหรือเมื่อยมแล้วไม่ชำระค่าปรับภายในกำหนดเวลา สอบถามข้อเท็จจริงหรือสั่งให้แสดงเอกสารหรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องจากบุคคลที่อยู่หรือทำงานในสถานที่นั้น และให้มีอำนาจยึดหรืออายัดเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะหรือสิ่งใดๆ ที่เกี่ยวกับการกระทำผิดรวมทั้งมีอำนาจจับกุมผู้กระทำผิด ดำเนินการให้มีการเปรียบเทียบปรับ ดำเนินคดี และบังคับการให้เป็นตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร และกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งด้านคดีอาญา การบังคับการทางแพ่ง และการบังคับทางปกครองที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร เช่น การบังคับรื้อถอนอาคาร การห้ามเข้าห้ามใช้อาคารผิดกฎหมาย เป็นต้น
  2. เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ช่วยหรือดำเนินการเกี่ยวกับการยึดอายัดทรัพย์สิน เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร หรือกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเพื่อดำเนินคดีหรือขายทอดตลาดแล้วแต่กรณี
  3. ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ การจัดระเบียบ หาบเร่ แผงลอย จุดผ่อนผัน จุดทบทวน จุดกวดขันพิเศษ จุดห้ามขายเด็ดขาด นอกจุดผ่อนผันและทบทวน และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
  4. ควบคุม ดูแล การตรวจตรา เฝ้าระวังการดำเนินงานต่างๆ ของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
  5. ควบคุม ดูแล การปฏิบัติงานมวลชนสัมพันธ์ งานกิจการพิเศษ งานให้บริการ เช่น งานช่วยอำนวยการจราจร งานสายตรวจจักรยาน งานสายตรวจชุมชน งานสายตรวจเดินเท้า งานช่วยอำนวยความสะดวก ด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
  6. ควบคุม ดูแล การตรวจตราพื้นที่ รวมถึงสนับสนุน ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวกในงานบรรเทาสาธารณภัย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองตามสิทธิและข้อบังคับ่ของกฎหมาย
  7. ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
  8. การดำเนินการด้านข้อมูลทะเบียนและการออกใบรับรองรถจักรยานยนต์รับจ้างสาธารณะ
  9. วางแผนการใช้กำลังคันด้านเทศกิจ จัดทำแผนปฏิบัติการต่างๆ เพื่อดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง และความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
  10. ศึกษา วิเคราะห์ การกำหนดมาตรการ แนวทางปฏิบัติงาน การปรับปรุงกฎหมาย รวมทั้ง การติดตามประเมินผลเกี่ยวกับงานด้านเทศกิจ เพื่อพัฒนาระบบงานให้มีคุณภาพ สามารถปฏิบัตภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการให้บรรลุวัตถุประสงค์และผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  11. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  12. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  13. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  14. ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ให้คำปรึกษาแนะนำงานบริการต่างๆ ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการดำเนินงาน ส่งเสริมให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  15. ดูแลเรื่องร้องเรียน ให้คำปรึกษา แนะนำ ด้านกฎหมาย อำนวยความเป็นธรรมให้แก่ประชาชน ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนขอความเป็นธรรม เพื่อนำเสนอผู้บังคับบัญชาประกอบการตัดสินใจเพื่ออำนวยความเป็นธรรมให้แก่ประชาชน

เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ

  1. วางแผนการดำเนินการ และปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
  2. ดำเนินการระงับอัคคีภัย และภัยพิบัติอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่รับผิดชอบตามที่ร้องขอกู้ภัยและช่วยเหลือผู้ประสบภัย เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยได้อย่างรวดเร็ว และเกิดความเสียหายน้อยที่สุด
  3. ตรวจตราป้องกันอัคคีภัยและภัยพิบัติอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นในเขตพื้นที่เพื่อดำเนินการป้องกันเชิงรุกก่อนเกิดเหตุการณ์
  4. ควบคุมดูแลและรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ ตลอดจนยานพาหนะต่างๆ เพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะปฏิบัติงานได้ทุกโอกาส
  5. สำรวจแหล่งน้ำ เส้นทางจราจร แหล่งชุมชนต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลในการป้องกันและระบบอัคคีภัย
  6. ตรวจสอบและวิเคราะห์สาเหตุการเกิดสาธารณภัย ในเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่รุนแรงเพื่อสรุปหาสาเหตุ และจัดทำรายงาน
  7. ศึกษางานด้านวิชาการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อกำหนดกลไก หลักเกณฑ์และนโยบายต่างๆ ในการดำเนินการป้องกันและระงับอัคคีภัยและภัยพิบัติอื่นๆ
  8. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  9. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  10. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  11. ให้บริการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแก่ประชาชน หน่วยงานหรือส่วราชการ หรือเอกชนต่างๆ

นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

  1. ศึกษา รวบรวมข้อมูล สถิติ สรุปรายงาน เพื่อสนับสนุนการบริหารสำนักงานในด้านต่างๆ เช่น งานบริหารทรัพยากรบุคคล งานบริหารงบประมาณ งานบริหารแผนปฏิบัติราชการ งานบริหารอาคารสถานที่ และงานสัญญาต่างๆ เป็นต้น
  2. ปฏิบัติงานเลขานุการของผู้บริหาร เช่น การกลั่นกรองเรื่อง การจัดเตรียมเอกสารสำหรับการประชุม เป็นต้น เพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการวินิจฉัยสั่งการของผู้บริหาร
  3. จัดเตรียมการประชุม บันทึคกและเรียบเรียงรายงานการประชุม และรายงานอื่นๆ เพื่อให้การบริหารการประชุมมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  4. ทำเรื่องติดต่อกับหน่วยงานหรือส่วราชการ และบุคคลต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด
  5. ช่วยติดตามการปฏิบัติตามมติของที่ประชุม หรือการปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บริหารของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อการรายงานและเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาของผู้บังคับบัญชาต่อไป
  6.  
  7. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  8. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  9. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  10. ตอบปัญหา ชี้แจง และให้คำแนะนำเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบข้อมูลและเกิดความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ

นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

  1. ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการวางระบบการจัดทำมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานหรือของส่วนราชการ
  2. ศึกษา รวบรวม ตรวจสบอ และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประกอบการดำเนินงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
  3. ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดความต้องการและความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวางแผนทางก้าวหน้าในอาชีพ การจัดหลักสูตรและการถ่ายทอดความรู้ การจัดสรรทุนการศึกษา และการดูแลนักเรียนทุนของกรุงเทพมหานคร รวมถึงการวางแผนและเสนอแนะนโยบายหรือยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และแผนการจัดสรรทุนการศึกษาและการฝึกอบรม
  4. ศึกษา รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์งาน เพื่อประกบอการพัฒนาระบบราชการ การจัดและพัฒนาโครงสร้างหน่วยงาน การกำหนดตำแหน่ง และการวางแผนกำลังคน
  5. ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวางหลักเกณฑ์การบริหารผลการปฏิบัติงาน และการบริหารค่าตอบแทน
  6. จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาระบบราชการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายที่กำหนด
  7. ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบข้อมูล ถ้อยคำ ข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการดำเนินการทางวินัย การรักษาวินัยและจรรยา
  8. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบพิทักษ์คุณธรรม
  9. ดำเนินการเกียวกับกระบวนการสรรหาและเลือกสรร เพื่อบรรจุและแต่งตั้งผู้มีความรู้ความสามารถให้ดำรงตำแหน่ง
  10. ดำเนินการเกียวกับารบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เช่น การบรรจุ แต่งตั้ง โอน ย้าย การเลื่อนเงินดือน การเลื่อนตำแหน่ง การทะเบียนประวัติ การออกจากราชการ เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินการด้านบุคคลเป็นไปตามกฎหมาย กฎ มติคณะรัฐมนตรี มติ ก.ก. และระเบียบที่เกี่ยวข้อง
  11. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  12. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  13. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  14. ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน ข้าราชการพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือประชาชนทั่วไป เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้างความเข้าใจและสนับสนุนงานตามภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  15. ให้บริการข้อมูล เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสนับสนุนภารกิจของบุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ และใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์และมาตรการต่างๆ
  16. ดำเนินการจัดสวัสดิการและการส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน

นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ

  1. สำรวจ รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและสถานการณ์ทางสังคมเบื้องต้น รวมทั้งติดตามสถานการณ์และเฝ้าระวังทางสังคม เพื่อประโยชน์ในการจัดทำแผนงาน กำหนดมาตรการ การจัดทำรายงานและการวางแผนการป้องกัน แก้ไขปัญหา และพัฒนางานด้านการพัฒนาสังคมให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น สถานการณ์เกี่ยวกับยาเสพติด ชุมชนแออัด การค้าหญิงและเด็ก การใช้ความรุนแรงในครอบครัว เป็นต้น
  2. ส่งเสริม สนับสนุนและให้บริการเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพและการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเบื้องต้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงสิทธิและบริการขั้นพื้นฐานตามที่กฎหมายกำหนด และเป็นไปตามมาตรฐานรวมทั้งดำเนินการให้มีการพัฒนามาตรฐานให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น การให้ความช่วยเหลือแก่บุคคลและครอบครัวที่ประสบความเดือดร้อนหรือไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในรูปของเงินหรือสิ่งของ การให้การสงเคราะห์แก่ผู้รับบริการสวัสดิการและการสงเคราะห์ในสถานสงเคราะห์ หรือบ้านพักฉุกเฉินในกรุงเทพมหานคร เป็นต้น
  3. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนงานที่กำหนด เพื่อปรับปรุงหรือจัดทำแผนงาน กำหนดมาตรการ จัดทำรายงาน และวางแผนการป้องกัน แก้ไขปัญหา และพัฒนางานด้านการพัฒนาสังคมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
  4. รวบรวม ศึกษา และพัฒนาการจัดทำฐานข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในการติดตามประเมินผลการดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมให้เป็นไปตามเป้าหมาย ตลอดจนบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
  5. ให้คำปรึกษา เสนอแนะแนวทางและฝึกอบรม เพื่อพัฒนาประชาชนในชุมชนตามวิธีการและหลักการพัฒนาชุมชน พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจชุมชน สร้างความสมดุลในการพัฒนาชุมชน สร้างความสมดุลในการพัฒนาชุมชน และความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชนระดับฐานรากอันนำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน เช่น การสนับสนุนการรวมกลุ่มและการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน การสร้างเครือข่ายชุมชน การอนุรักษ์ฟื้นฟู และพัฒนาสภาพแวดล้อมในชุมชน การส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจชุมชน การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพอย่างครบวงจร การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น การจัดตั้งกองทุนพัฒนาชุมชน กองทุนหมู่บ้านและชุมชน การส่งเสริมการบริหารเงินออมครอบครัว เป็นต้น
  6. ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาศักยภาพชุมชน กรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน องค์กรชุมชน และการพัฒนากลุ่มต่างๆ ในชุมชน เพื่อเป็นแกนนำในการพัฒนาชุมชน
  7. ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนางานด้านการจัดการความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนเพื่อสร้างและพัฒนาระบบการจัดการความรู้ของชุมชน เช่น การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ฝึกอาชีพการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรให้เป็นมาตรฐานและสอดคล้องกับตลาดแรงงาน จัดทำคู่มือการสอน ข้อสอบมาตรฐานกลาง การให้คำปรึกษา แนะนำ และสนับสนุนด้านวิชาการและเทคโนโลยีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์การกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน การอนุรักษ์ส่งเสริม เผยแพร่ ฟื้นฟู บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น งานพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น การส่งเสริมการท่องเที่ยวและพัฒนาการท่องเที่ยว เป็นต้น
  8. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  9. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  10. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง  องค์กรเอกชน หรือน่วยงานภาครัฐ ตลอดจนองค์กรอื่นเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  11. ให้บริการข้อมูล เอกสาร ตำรา สื่อ และคู่มือในรูปแบบต่างๆ เกี่ยวกับการพัฒนาสังคมแก่หน่วงานหรือส่วราชการที่เกียวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน ภาคีเครือข่ายสังคม หรือประชาชนทั่วไป เพื่อสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้และการประยุกต์ใช้ความรู้ และเพื่อประโยชน์ในการจัดบริการทางสังคมและให้การช่วยเหลือแก่กลุ่มเป้าหมายอย่างเมหาะสมและมีประสิทธิภาพ
  12. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านการพัฒนาสังคมในด้านต่างๆ เพื่อให้บริการแก่หน่วยงานภาคีการพัฒนา ประชาชน ผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่มหรือองค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชุมชน ชุมชน หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
  13. ดำเนินการเกี่ยวกับการฝึกอบรม และ่ถายทอดความรู้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการ ครอบครัว กลุ่มชุมชน หน่วยงานภาครัฐ เอกชน เครือข่าย หรือประชาชนทั่วไป เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงาด้านการพัฒนาสังคมตามหลักการพัฒนาชุมชน หลักมนุษย์สัมพันธ์หลักจิตวิทยาและหลักการสังคมสงเคราะห์

นักพัฒนาการกีฬาปฏิบัติการ

  1. รวบรวม ประมวล จัดทำข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้น วิเคราะหื เพื่อประกอบการวางแผนงาน โครงการหรือแนวทางการกำหนดมาตรฐานและพัฒนาการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา
  2. สำรวจ รวบรวม จัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ศึกษา สรุปจัดทำรายงานรวมทั้งประมวลและวิเคราะห์ข้อมูลทางวิชาการเพื่อประกอบการวิจัยในการวางแผน การจัดทำหลักเกณฑ์มาตรฐานการพัฒนาการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศษสตร์กรกีฬา
  3. รวบรวม จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านการพัฒนาการกีฬา เพื่อประกอบการสร้างและพัฒนาเครื่องมือ สื่อ จัดทำคู่มือ แนวทางปฏิบัติ เอกสารวิชาการและสื่อ เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงานด้านการพัฒนาการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศษสตร์การกีฬา
  4. จัดทำข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์และปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินการด้านการพัฒนาและจัดทำแผนด้านการพัฒนาคุณภาพการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา
  5. ดำเนินการหรือร่วมดำเนินการเกี่ยวกับการสอน ส่งเสริม สนับสนุน การศึกษาด้านการกีฬา การพัฒนากิจกรรมนันทนาการและการพัฒนาวิทยาศาสตร์การกีฬา
  6. ติดตาหรือร่วมติดตามประเมินผลการดำเนินงาน กิจกรรม และสรุปการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาการกีฬา นันทนาการ วิทยาศาสตร์การกีฬา
  7. ส่งเสริม สนับสนุนเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการกีฬา นันทนาการ แลบะวิทยาศาสตร์การกีฬา เช่น ฝึกอบรม นิเทศ สาธิต เป็นต้น
  8. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  9. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  10. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  11. ให้คำแนะนำและให้บริการทางวิชาการเบื้องต้นแก่หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เยาวชนและประชาชน เกี่ยวกับแนทางการพัฒนาด้านการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา
  12. ให้บริการข้อมูล เอกสาร สื่อในรูปแบบต่างๆ เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการพัฒนาด้านการกีฬา นันนทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา
  13. อำนวยความสะดวกด้านการพัฒนาด้านการกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตร์การกีฬา เช่น การจัดการสนามกีฬาและอุปกรณ์กีฬา เป็นต้น และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

นักโภชนาการปฏิบัติการ

  1. ศึกษา ค้นคว้า สำรวจ รวบรวม วิเคราะห์ วิจัย เบื้องต้นด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสนับสนุน ส่งเสริม ป้องกัน พื้นฟูภาวะโภชนาการของประชาชน
  2. ร่วมสนับสนุน ส่งเสริม ป้องกัน คุ้มครอง แก้ไข ฟื้นฟูและจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีพฤติกรรมที่ดีของประชาชน เพื่อให้มีภาวะโภชนาการที่ดี
  3. ร่วมติดตาม และประเมินผล การดำเนินงานด้านอาหารและโภชนาการ เพื่อนำมาปรับปรุงระบบงานให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์
  4. ร่วมเฝ้าระวังและติดตามด้าอาหารและโภชนาการ กับสหสาขาวิชาชีพและภาคีเครือข่าย เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในประชาชนที่มีความเสี่ยง
  5. ร่วมจัดการองค์ความรู้ด้านอาหารและโ๓ชนาการ เพื่อพัฒนาระบบงานและเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและภาคีเครือข่าย
  6. ร่วมจัดทำฐานข้อมูลด้านอาหารและโ๓ชนาการ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ร่วมจัดทำตรับอาหาร และสื่อโภชนศึกษา สำหรับประชาชน เพื่อให้ได้รับพลังานและสารอาหารที่เหมาะสม
  7. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  8. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  9. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  10. ให้คำแนะนำ ความรู้ เทคโนโลยีทางด้นาอาหารและโภชนาการ เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะของประชาน
  11. สนับสนุนการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการหรือเทคโนโลยีแก่บุคคลภายในหน่วยงานหรือส่วราชการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  12. ให้บริการสื่อทางด้านอาหารและโภชนการในรูปแบบต่างๆ เพื่อการเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน

นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ

  1. ศึกษา ค้นคว้า และวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างอค์ความรู้
  2. วิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัยทางวิทยาศาสตร์ของวัตถุตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
  3. ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญ จัดทำฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
  4. ร่วมศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้ และร่วมดำเนินการจัดฝึกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  5. ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ที่เกียวข้อง
  6. ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
  7. ร่วมสึกษา วิเคราะห์ วิจัยงานวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงคุณภาพแหล่งน้ำและการบำบัดของเสีย สิ่งปฏิกูล พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้ และร่วมดำเนินการจัดฝึกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าชของวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์และทเคโนโลยี
  8. ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ และแยกประเภทของเสียอันตราย ของเสียติดเชื่อ เพื่อกำจัดอย่างถูกวิธีมีความปลอดภัยแก่สภาพแวดล้อม
  9. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำจากแหล่งน้ำต่างๆ การบำบัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูลจากสถานประกอบการต่างๆ ก่อนปลาอยลงสู่แม่น้ำลำคลอง เพื่อให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กรุงเทพมหานครกำหนด
  10. ศึกษา ค้นคว้า และวิเคราะห์ สิ่งที่ได้จากกระบวนการบำบัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูล คุณสมบัติของวัตถุตัวอย่างและผลผลิตที่ได้มา เพื่อใชข้ประโยชน์ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
  11. ศึกษา วิเคราะห์ ค้นคว้า ควบคุมการบำบัดไขมันและน้ำมันจากสถานประกอบการจากพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อจัดหาแนวทางในการปรับปรุงวิธีการดำเนินงานให้เป็นมาตรฐานและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  12. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  13. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  14. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  15. ให้คำปรึกษาแนะนำเบื้องต้นทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมแก่ผู้ประกอบการ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ และนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  16. เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการรณรงค์รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง

นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

  1. รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล ความเห็น ข้อเสนแนะ ในการทำระบบและหลักเกณฑ์มาตรฐานด้านต่างๆ ไปใช้ในการจัดทำและวิเคราะห์งบประมาณ รวมทั้งจัดทำรายงานความก้าวหน้ารายไตรมาส และรายงานภาพรวมประจำปี เพื่อประกอบการวิเคราะห์จัดสรรงบประมาณประจำปี และบริหารงบประมาณ
  2. ร่วมศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาระบบ รูปแบบ การจัดทำมาตรฐานต้นทุน บัญชีราคามาตรฐานด้านต่างๆ ประมาณการภาระหนี้สาธารณะ โครงสร้างแผนงบประมารของหน่วยงานหรือส่วนราชการและกระบวนการจัดทำแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการ เพื่อประกอบการวิเคราะห์ จัดสรรงบประมาณประจำปีและการบริหารงบประมาณ
  3. ร่วมศึกษา วิเคราะห์ ยุทธศาสตร์ นโยบายของกรุงเทพมหานคร กรอบการขอจัดสรรงบประมาณ ความสอดคล้องของโครงการกับยุทธศาสตร์การบริหารราชการกรุงเทพมหานคร ความเป็นไปได้ในการใช้จ่าย เพื่อประกอบการวิเคราะห์ จัดสรรงบประมาณประจำปี และบริหารงบประมาณ
  4. ร่วมจัดทำร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม เอกสารประกอบ และคำแถลงงบประมาณรายจ่ายประจำปี เพื่อสนองต่อสภากรุงเทพมหานคร
  5. ร่วมติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และรายงานความสำเร็จของหน่วยงานหรือส่วนราชการตามกรอบงบประมาณที่ได้รับจัดสรร และการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดประโยชน์และความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ
  6. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  7. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  8. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  9. ให้คำปรึกษา แนะนำ และเผยแพร่ความรู้ ด้านงบประมาณ ระเบียบการ และระบบการติดตามประเมินผลในกระบวนการงบประมาณ เพื่อให้สามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
  10. ให้บริการข้อมูล ให้คำปรึกษา แนะนำและตอบข้อหารือเกี่ยวกับการงบประมาณต่างๆ ให้กับหน่วยงานหรือส่วนราชการ และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบงบประมาณ
  11. จัดทำคู่มือ หรือเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบการปฏิบัติงาน

นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

  1. ร่าง โต้ตอบหนังสือเป็นภาษาต่างประเทศ งานแปลเอกสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อใช้ในการติดต่อประสานงานกับองค์การระหว่างประเทศ
  2. รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และติดตามประเมินผล จัดทำบันทึก สรุปรายงานการประชุม ความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อนำเสนอผู้บังคับบัญชา
  3. จัดเตรียมข้อมูลสำหรับการเจรจาความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ เพื่อให้การประชุมเจรจาบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนด
  4. ส่งเสริม สนับสนุน ดำเนินการเกี่ยวกับทุนการศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน ผู้เชี่ยวชาญ วัสดุอุปกรณ์ อาสาสมัคร องค์การพัฒนาเอกชนและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานความร่วมมือ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความราบรื่น
  5. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  6. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  7. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  8. เผยแพร่ความรู้ทั่วไปด้านการต่างประเทศแก่ผู้มาติดต่อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและถูกต้อง เผยแพร่ความรู้ให้คำปรึกษาและชี้แจงตอบปัญหาด้านการต่างประเทศแกู่้ที่มาติดต่อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย
  9. รวบรวมข้อมูลเกี่ววกับงาด้านต่างประเทศ เพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูล

นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

  1. ค้นหาข้อเท็จจริง สัมภาษณ์ สอบประวัติ เยี่ยมบ้าน ติดตาม สืบเสาะหาข้อเท็จจริง รวมทั้งศึกษาชุมชน แะลประเมินสภาวะทางสังคมเบื้องต้น เพื่อวินิจฉัย และให้บริการทางสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายในระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่ม และชุมชน
  2. ให้บริการการปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือ บำบัด ฟื้นฟู ป้องกัน ปกป้อง คุ้มครอง และพัฒนากลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้
  3. รวบรวม ประมวล สรุป จัดลำดับความสำคัญและความรุนแรงของปัญหา รวมทั้งวิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบของปัญหา เพื่อประกอบการวางแผนให้ความช่วยเหลือ พิทักษ์สิทธิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเป้าหมาย
  4. สำรวจ รวบรวม ศึกษา สรุปจัดทำรายงาน รวมทั้งประมวล และวิเคราะห์ข้อมูลทางวิชาการ สถานการณืและปัญหาด้านสังคม เพื่อประกบอการวิจัย การจัดทำฐานข้อมูล การวางแผนการจัดทำหลักเกณฑ์มาตรฐานและการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมและสงเคราะห์
  5. รวบรวม จัดเก็บข้อมูล สถิติเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านสังคมสงเคราะห์ เพื่อประกอบการจัดทำเครื่องมือทางสังคมสงเคราะห์ คู่มือ แนวทางปฏิบัติ เอกสารวิชาการร สื่อ เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินงานด้านสังคมสงเคราะห์
  6. จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์และปัญหาของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อประกอบการพัฒนาและวางแผนด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
  7. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  8. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  9. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  10. ให้คำแนะนำและให้บริการทางวิชาการแก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ และองค์กรต่างๆ เกี่ยวกับแนวทางในการดำเนินงานด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ เพื่อพัฒนาความรู้ เทคนิคทักษะในการดำเนินงานและพัฒนาบริการด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์
  11. ให้บริการข้อมูล เอกสาร ตำรา สื่อ และคู่มือในรูปแบบต่างๆ เกี่ยวกับการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์แก่ครอบครัว กลุ่ม ชุมชน องค์กร หน่วยงานภาครัฐ เอกชน เครือข่าย ประชาชนทั่วไปและผู้ที่สนใจ เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้และเพื่อประโยชน์ในการจัดบริการทางสังคมและการให้ความช่วยเหลือแก่กลุ่มเป้าหมายอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
  12. ร่วมจัดการฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการ ครบครัว กลุ่ม ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ เอกชน เครือข่ายและประชาชบนทั่วไป เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย

มัณฑนากรปฏิบัติการ

  1. ศึกษา ค้นคว้าทฤษฎีและองค์ความรู้ทางด้านมัณฑนศิลป์ เพื่อเป็นข้อมูลในการดำเนินงานด้านมัณฑนศิลป์
  2. ศึกษา สำรวจพื้นที่อาคาร สำนักงาน ที่รับผิดชอบทั้งภายในและภายนอกเพื่อวางผังการตกแต่ง อาคาร สำนักงาน
  3. ออกแบบ ตกแต่งภายในอาคาร กำหนดรายการประกอบแบบงานด้านมัณฑนศิลป์ และองค์ประกอบที่เกียวข้อง เพื่อให้ได้แบบที่ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน
  4. ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูลเกียวกับวัสดุครุภัณฑ์และงานระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำรหับงานออกแบบ ตกแต่งด้านมัณฑนศิลป์
  5. ดูแลการจัดทำครุภัณฑ์และงานมัณฑนศิลป์ เพื่อให้ได้ผลงานตามรูปแบบรายการที่กำหนด
  6. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  7. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  8. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  9. ให้คำปรึกษาแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรู้ในวิชาชีพ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างถูกต้อง

นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

  1. ศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลด้านการเงิน การคลัง การพัสดุ การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกรุงเทพมหานคร
  2. วิเคราะห์ ตรวจสอบการเบิกจ่ายฎีกาเงินงบประมาณ เงินอุดหนุนจากรัฐบาล เงินนอกงบประมาณคลังกรุงเทพมหานคร เงินกู้ และอื่นๆ ของหน่วยงานหรือสว่ราชการ เพื่อความถูกต้องและเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับของทางราชการ
  3. จัดทำรายงานการเงิน การคลัง เพื่อเสนอต่อผู้บังคับบัญชานำไปใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใตจ
  4. ให้คำปรึกษาแนะนำด้านการเงิน การคลัง แก่หน่วยงานหรือส่วราชการต่างๆ เพื่อให้มีความเข้าใจที่ถูกต้อง
  5. ศึกษาวิเคราะห์ พัฒนาระบบงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจหลักในด้านการเงิน การคลัง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  6. ศึกษาวิเคราะห์ พัฒนาหลักเกณฑ์ กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติทางการเงิน การคลังที่เกียวข้อง เพื่อจัดทำคู่มือ หลักเกณฑ์ต่างๆ
  7. ดำเนินการเกี่ยวกับการรับจดทะเบียนพาณิชย์ และหน้าที่อื่นตามกฎหมายว่าด้วยการกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
  8. ปฏิบัติงานด้านการพิจารณาตรวจสอบความถูกต้องของการตรวจฎีกาที่ยุ่งยากซับซ้อนใบนำส่งเงิน ใบขอกันเงินและเอกสารการคลังอื่นๆ เพื่อให้งานดำเนินไปยอ่างราบรื่นมีความถูกต้องเรียบร้อย
  9. ควบคุมงบประมาณและการกันเงิน ขยายระยะเวลาการเบิกจ่ายเงิน
  10. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  11. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  12. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  13. ให้คำแนะนำปรึกษาในเบื้องต้น แก่หน่วยงานราชการ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ข้าราชการ พนักงา เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือประชาชนทั่วไปเกียวกับการเงิน การคลัง การพัสดุ การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
  14. สำรวจและจัดเก็บข้อมูล ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูล หรือระบบสารสนเทศเกี่ยวกับการเงิน การคลัง การพัสดุ การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ เพื่อการประมวล วิเคราะห์ และการนำเสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แผนงานและหรือโครงการ หลักเกณฑ์ วิธีการ เกี่ยวกับงาน การเงิน การคลัง การพัสดุ การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ
  15. ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำเอกสาร ตำรา คู่มือ สื่อ เอกสารเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ และการทำความเข้าใจในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานการเงิน การคลัง การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

  1. ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้อย่างราบรื่นและสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  2. ประมวลผลและปรับปรุงแก้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยำและทันสมัย
  3. ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการและสภาพการใช้งานของหน่วยงานหรือส่วราชการ
  4. เขียนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  5. เขียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แก้ไขข้อผิดพลาดของคำสั่งเพื่อให้ระบบปฏิบัติการทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
  6. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลของหน่วยงานหรือสว่นราชการที่ไม่ซับซ้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานหรือส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  7. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้ได้ระบบงานประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  8. รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่อง การติดตั้งระบบเครื่องเพื่อให้ได้อุปกรณืคอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
  9. ตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ซ่อมแซม เครื่องคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย ให้สามารถทำงานได้ปกติ เพื่อให้การดำเนินงานของหน่วยงานหรือส่วราชการต่างๆ เป็นไปอย่างสะดวก ราบรื่น
  10. ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลและระบบ
  11. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  12. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  13. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  14. ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเองอย่งมีประสิทธฺภาพ
  15. ดำเนินการฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
  16. ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

นักวิชาการจัดหาที่ดินปฏิบัติการ

  1. ตรวจสอบหลักฐานที่ดินเพื่อจำแนกประเภทที่ดืน ได้แก่ ที่ดินมีเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน ที่ดินมีเอกสารสิทธิตามกฎหมายอื่นๆ แต่ห้ามโอน และที่ดนิของรัฐ (ที่ดินสงวนหวงห้ามของทางราชการ) เพื่อวินิจฉัยข้อกฎหมายเบื้องต้นสำหรับวางแนวทางปฏิบัติในการจัดหาที่ดินแต่ละประเภทของเอกสารสิทธิตามขั้นตอนของกฎหมาย
  2. สอบสวนสิทธิ หรือพิสูจน์สอบสวนสิทธิ ที่ดิน และทรัพย์สิน ให้คำแนะนำเจ้าของที่ดินในข้อกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิ การสืบสิทธิที่ดิน และไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเกี่ยวกับที่ดิน เพื่อให้ได้ข้อยุติผูทรงสิทธิที่ดินและทรัพย์สินถูกต้องตามความเป็นจริงและตามกฎหมาย
  3. ตรวจสอบ จัดทำนิติกรรมทางการปกครอง หรือปฏิบัติตามขั้นตอนในการบังคับใช้กฎหมาว่ด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดิน
  4. พิจารณา ตรวจสอบ ข้อร้องเรียนและเสนอตอบชี้แจงข้อร้องเรียนต่อผู้รองและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ปัญหาและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับานจัดหาที่ดินแก่ผู้รองเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
  5. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  6. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  7. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  8. ให้คำปรึกษาทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการจัดหาที่ดืนให้แก่หน่วยงานราชการเอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านจัดหาที่ดิน
  9. ตรวจสอบ ศึกษา วิเคราะห์ และวินิจฉัย ปัญหาข้อกฎหมายและปัญหาข้อเท็จจริงเพื่อช่วยเหลือเจ้าของที่ดิน ให้การดำเนินงานจัดหาที่ดินบรรลุผลสำรเ็จด้วยความถูกต้องเรียบร้อยและเป็นที่พอใจแก่เจ้าของที่ดินผู้รับบริการ
  10. ถ่ายทอดความรู้หรือเทคโนโลยีแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา ผู้ร่วมงานและบุคคลภายนอกเพื่อเพิ่มความรู้ และทักษะการปฏิบัติงาน ให้คำปรึกษาแนะนำแก่บุคลากรทั่วไป หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในข้อกฎหมายเบื้องต้น เพื่อคุ้มครองสิทธิของประชาชนและประโยชน์ของทางราชการ

นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

  1. รวบรวมและตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล ตัวเลข หลักฐานการทำสัญญา และเอกสารต่างๆ ทางด้านการเงิน การบัญชี เพื่อให้การตรวจสอบดำเนินไปอย่างถูกต้องและได้ผลตรงกับหลักฐานที่เกิดขึ้นจริง
  2. ตรวจสอบการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ การเงิน พัสดุและทรัพย์สินรวมทั้งการบริหารด้านอื่นๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแลให้การใช้งบประมาณและทรัพยากรเป็นไปอย่างประหยัดมีประสิทธิภาพสูง และตรงตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
  3. จัดทำรายงานการตรวจสอบรายเดือน เพื่อเสนอข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะ ให้ผู้บังคับบัญชารับทราบผลการดำเนินงาน
  4. ร่วมวางระบบการควบคุมภายใน ให้เพียงพอเหมาะสม มีประสิทธิผล ตลอดจนปรับปรุงและรายงานผลการประเมินประสิทธิผลการควบคุมภายในตามแบบรายงานตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วกยารกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 เพื่อนำไปสู่การกำหนดแนวทางการปฏิบัติเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงต่อไป
  5. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  6. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  7. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  8. ฝึกอบรม ให้คำปรึกษา เสนอแนะวิธีการปรับปรุงการปฏิับติงานแก่หน่วยรับตรวจ และเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา และตอบข้อซักถามและชี้แจงเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ พร้อมทั้งช่วยแก้ปัญหาข้อขัดแย้งในหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้การปฏิบัติงานถูกต้องและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  9. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจงเกี่ยวกับงานตรวจสอบภายในที่ตนรับผิดชอบในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์

นักวิชาการแผนที่ปฏิบัติการ

  1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลแผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพดาวเทียม และข้อมูลเชิงพื้นที่อื่นๆ เพื่อจัดหาหรือเพื่อเตรียมการคัดเลือกบริเวณที่จะทำแผนที่และหรือระบบภูมิสารสนเทศ
  2. สำรวจและวางโครงข่ายสามเหลี่ยมทางอากาศ กำหนดจุดบังคับภาพ รังวัดและคำนวณปรับแก้ค่าพิกัด และบันทึกข้อมูลผลการรังวัวด เพื่อใช้ในการจัดทำแผนที่ต่างๆ
  3. จัดทำระวางขยายภาพถ่ายและระวางแผนที่ภาพถ่าย การจัดทำแผนที่ เชิงรหัสด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และเทคโนโลยีจัดสร้างแผนที่สมัยใหม่ตามหลักวิชาการแผนที่
  4. อ่านแปลและตีความภาพถ่ายทางอากาศ และวิเคราะห์ภาพดาวเทียม เพื่อการวิเคราะห์ จัดทำแผนที่ให้ถูกต้องและทันสมัย
  5. นำเข้า ตรวจสอบ แก้ไข รักษาและค้นคืนข้อมูลพื้นที่ เพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ
  6. ประมวลผลข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค๋ของผู้ใช้งาน
  7. ดูแล จัดเก็บ บริการ แผนที่ ภาพถ่าย และหรือข้อมูลภูมิสารสนเทศ เพื่อให้บริการแก่หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไปนำไปใช้ประโยชน์
  8. สรุปรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อวางแผนการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ
  9. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  10. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  11. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  12. ตรวจสอบและเตรียมระวางแผนที่และหรือข้อมูลภูมิสารสนเทศ เพื่อทำการจัดส่งให้หน่วยงานหรือส่วนราชการทั้งภายในและภายนอก และให้บริการประชาชน
  13. ชี้แจงและตอบปัญหา เกี่ยวกับข้อมูลด้านแผนที่และหรือภูมิสารสนเทศ เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป
  14. ให้บริการแผนที่ และหรือข้อมูลภูมิสารสนเทศ แก่หน่วยราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป
  15.  

นักวิชาการศูนย์เยาวชนปฏิบัติการ (ผู้นำกิจกรรมคหกรรมศาสตร์)

  1. ควบคุมการจัดกิจกรรมด้านต่างๆ แก่เยาวชนที่เป็นสมาชิกศูนย์เยาวชน เช่นกิจกรรมด้านพลศึกษา ศิลปะ นาฎศิลป์ ห้องสมุด คหกรรมศาสตร์ การจัดกิจกรรมพิเศษ การจัดทัศนศึกษา ค่ายพักแรม และการจัดสนามเด็กเล่น เป็นต้น เพื่อให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
  2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เกี่ยวกับการพัฒณาเยาวชนเพื่อจัดทำแผนงาน และโครงการด้านต่างๆ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของเยาวชน และสอดคล้องกับนโยบายของกรุงเทพมหานคร
  3. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านการพัฒนาเยาวชน เพื่อให้เยาวชนมีศักยภาพในการเป็นผู้นำ
  4. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำและพัฒนาระบบข้อมูลสารนเทศเกียวกับเยวาชนเพื่อกำหนดนโยบาย แผนงาน ตลอดจนกำหนดแนวทาง หรือ วางแผนการพัฒนา ปรับปรุงงานศูนย์เยาวชน
  5. ฝึกอบรมงานวิชาการศูนย์เยาวชน แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติงาน
  6. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  7. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  8. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  9. ให้คำแนะนำ เกี่ยวกับงานศูนย์เยาวชน แก่หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกียวข้อง หรือบุคคลที่สนใจ เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
  10. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานศูนย์เยาวชน เพื่อให้บริการแก่หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง หรือบุคคลที่สนใจ

นักวิชาการศูนย์เยาวชนปฏิบัติการ (ผู้นำกิจกรรมพลศึกษา)

  1. ควบคุมการจัดกิจกรรมด้านต่างๆ แก่เยาวชนที่เป็นสมาชิกศูนย์เยาวชน เช่น กิจกรรมด้านพลศึกษา ศิลปะ นาฎศิลป์ ห้องสมุด คหกรรมศาสตร์ การจัดกิจกรรมพิเศษ การจัดทัศนศึกษา ค่ายพักแรม และการจัดสนามเด็กเล่น เป็นต้น เพื่อให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
  2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เกี่ยวกับการพัฒณาเยาวชนเพื่อจัดทำแผนงาน และโครงการด้านต่างๆ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของเยาวชน และสอดคล้องกับนโยบายของกรุงเทพมหานคร
  3. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านการพัฒนาเยาวชน เพื่อให้เยาวชนมีศักยภาพในการเป็นผู้นำ
  4. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำและพัฒนาระบบข้อมูลสารนเทศเกียวกับเยวาชนเพื่อกำหนดนโยบาย แผนงาน ตลอดจนกำหนดแนวทาง หรือ วางแผนการพัฒนา ปรับปรุงงานศูนย์เยาวชน
  5. ฝึกอบรมงานวิชาการศูนย์เยาวชน แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติงาน
  6. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  7. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  8. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  9. ให้คำแนะนำ เกี่ยวกับงานศูนย์เยาวชน แก่หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกียวข้อง หรือบุคคลที่สนใจ เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
  10. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานศูนย์เยาวชน เพื่อให้บริการแก่หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง หรือบุคคลที่สนใจ

นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

  1. ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย สำรวจ รวบรวม ข้อูลทางวิชาการเบื้องต้นที่ไม่ซับซ้อนเกีย่วกับงาด้านสาธารณสุข เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังโรค การควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพและการฟื้นฟูสุขภาพ เป็นต้น รวมทังการดูแลรักษาพยาบาล การจัดบริการสุขภาพ การสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพพัฒนาระบบกลไกและการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข เพื่อช่วยในการเสริมสร้างระบบการสาธาณรสุขที่ดี
  2. สรุปรายงานเกี่ยวกับการดำเนินงาน หรือรายงานการรวบรวมข้อมูลทางวิาการ ด้านสาธารณสุขเสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อประกอบการวางแผนในการปฏิบัติงาน
  3. ติดตาผลการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยงานด้านสาธารณสุข เพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสถานกาณณ์ต่างๆ
  4. ร่วมพัฒนาเนื้อหา องค์ความรู้ คุณภาพมาตรฐานเกี่ยวกับงาด้านสาธารณสุข และระบบบริการสุขภาพ โดยบรณาการแบบองค์รวมว่า้ดวยการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญา เกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุขและระบบบริการสุขภาพ และจัดทำคู่มือ แนวทางปฏิบัติ เอกสารวิชาการ สื่อสุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ สามารถ ป้องกันตนเองจากโรคและภัยสุขภาพ
  5. ปฏิบัติการในการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ การเฝ้าระวังโรครักษาเบื้องต้น และติดตามฟื้นฟูสุขภาพในชุมชน ดูแลบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ที่พร้อมใช้งาน เพื่อพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง
  6. ช่วยจัดทำฐานข้อูลเบื้องต้นที่เกียวข้องกับงานด้านสาธารณสุข เช่น ข้อมูลของผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงบุคลากรทางด้านบริการสุขภาพ ประชากร สถานะสุขภาพ ระบาดวิทยา เพื่อนำมาใช้ในการวิเคราะห์ ในการปรับปรุงระบบงานสาธาณรสุขให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
  7. ให้บริการคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย รักษาเบื้องต้น สอบสวนสืบสวนโรค ติดตามผู้ป่วย ผู้สัมผัสเพื่อการเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้งส่งเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูสุขภาพ เพื่อให้ประชาชขนมีสุขภาพที่ดี
  8. ช่วยปฏิบัติงานส่งเสริม ควบคุม กำกับมาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมาย เกี่ยวกับการแพทย์และสาธารณสุขและกฎหมายอื่นที่เกียวข้อง เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  9. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  10. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  11. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  12. ตรวจสอบสภาพของเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ให้มีคุณภาพและเหมาะแก่การนำไปใช้งานอยู่เสมอ รวมทั้งสนับสนุนงาอื่นๆ ที่เกียวข้องกับการให้บริการทางสาธารณสุข เพื่อให้การบรการดังกล่าวเป็นไปอย่างราบรื่น
  13. สนับสนุนการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการหรือเทคโนโลยีแก่บุคคลภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อเป็นความรู้และให้สามารถดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ
  14. ให้บริการทางวิชาการ เช่น การจัดทำเอกสาร ตำรา คู่มือ เอกสาร สื่อ เผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ เพื่อการเรียนรู้และความเข้าใจในระดับต่างๆ ในงานด้านสาธารณสุข
  15. ร่วมปฏิบัติการในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อให้เป็นบุคลากรที่มีความชำนาญ และปฏิบัิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  16. นิเทศงานด้านสาธารณสุขให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

  1. วางโครงการ ออกแบบ คำนวณ ควบคุมการสร้างหรือการผลิต อำนวยการใช้ กำหนดมาตรฐาน ประเมินราคา ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบ หรือซ่อมบำรุง เกีย่วกับงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
  2. ศึกษา วิจัย พัฒนา และปรับปรุงงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้งานมีคุณภาพและมีมาตรฐานที่ดี
  3. รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลเกีย่วกับงาวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้งานมีคุณภาพและประสิทธิภาพที่ดี
  4. จัดทำข้อกำหนดและรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Specificaitons) เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน
  5. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  6. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  7. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  8. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกลในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
  9. จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ

วิศวกรโยธาปฏิบัติการ

  1. สำรวจ ศึกษา วางแผน วิเคราะห์ วิจัย ออกแบบ คำนวณ ประมาณราคา ควบคุมงานก่อสร้าง งานบำรุง งานบูรณะซ่อมแซม งานอำนวยความปลอดภัย งานผังเมืองหรืองานอื่นใดที่เกีย่วข้องกับวิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้ป็นไปตามหลักวิชาการ กฎหมารยที่เกี่ยวข้อง
  2. ตรวจอบ แบบแปลน โครงสร้าง สภาพการใช้งานของอาคารหรือโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
  3. ควบคุม ดูแลการปฏิบัติงานสำรวจ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้รูปแบบแผนที่ต่างๆ ที่ถูกต้อง
  4. ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกำหนด กฎ ระเบียบ มาตรฐาน มาตรการ ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมโยธา และโครงสร้างพื้นฐาน
  5. ศึกษา วิจัย และทดสอบวัสดุ ที่ใช้ในงานด้านวิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้มีความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัยและประหยัดงบประมาณ
  6. ตรวจสอบสัญญาก่อสร้าง บำรุง บูรณะซ่อมแซมและอำนวยความปลอดภัย รวมถึงการแก้ไขสัญญางานวิศวกรรมโยธา เพื่อให้งานมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานและข้อกำหนด
  7. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  8. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  9. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  10. ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงาวิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐานในความรับผิดชอบในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไปเพื่อให้ได้ข้อมูลความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยขน์ รวมทังการมีส่วนร่วม
  11. จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง จัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภากริจของหน่วยงานหรือสว่ราชการและใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณ์ มาตรการต่างๆ

สถาปนิกปฏิบัติการ

  1. รวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อการกำหนดรายละเอียดโครงการทางสถาปัตยกรรมหลักรวมทั้งการออกแบบวางผังเมืองประเภทต่างๆ และการเสนอโครงการพัฒนาเมือง
  2. จัดทำแบบ งานปรับปรุงซ๋อมแซมและต่อเติม รวมถึงงานอนุรักษ์ ทางสถาปัตยกรรมหลักจัดทำงบประมาณ ราคาค่าก่อสร้าง เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการพื้นที่ใช้สอยของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และให้ได้สถาปัตยกรรมที่มีความเหมาะสม ประหยัด สอดคล้องตามข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  3. ออกแบบวางผังสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ กลุ่มอาคาร ชุมชนและเมือง รวมทั้งการจัดรูปที่ดิน เพื่อให้ชุมชนน่าอยู่และมีสภาพแวดล้อมที่ดี
  4. ควบคุมการก่อสร้าง ปรับปรุงซ๋อมแซมและต่อเติม รวมถึงงานอนุรักษ์ทางสถาปัตยกรรมหลักเพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบและรายการที่กำหนด
  5. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ข้อมูล จัดทำคู่มือ เกณฑ์ มาตรฐาน แนวทาง เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และการออกแบบทางสถาปัตยกรรมหลัก
  6. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
  7. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือสว่ราชการเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
  8. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
  9. ให้คำปรึกษา แนะนำ ตอบปัญหาชี้แจงและแก้ไขปัญหาเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปอย่างถูกต้อง
  10. จัดเก็บข้อมูล และสถิติเบื้องต้น เพื่อปรับปรุงหรือจัดทำฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม และหรือ งานอนุรักษ์ เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และใช้ประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรฐานต่างๆ
  11. ตรวจสอบความถูกต้องของแบบด้านสถาปัตยกรรมหลักเบื้องต้น ซึ่งจัดทำโดยเอกชนหน่วยงานหรือส่วราชการอื่น เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของหน่วยงานหรือสว่ราชการ
  12. ให้ความรู้ด้านวิชาการทางสถาปัตยกรรมระดับต้นทุกสาขาแก่บุคคลทั่วไป หน่วยงานหรือส่วราชการต่างๆ
  13. รวมเป็นกรรมการตรวจการจ้างที่กี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมหลัก เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์ที่กำหนด

วิชาที่สอบ
หลักสูตรและวิธีการสอบ

  1. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไป และการสอบแข่งขันเพื่อวัดภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งและเพื่อวัดภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง มีรายละเอียดหลักสูตรและวิธีการสอบตามเอกสารแนบท้ายประกาศรับสมัครสอบ
  2. ผู้สมัครสอบรายใดเป็นผู้สอบผ่านการวัดภาคความรู้ความสามารถทั่วไปของกรุงเทพมหานคร และหรือเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ตามระดับวุฒิการศึกษาที่ใช้สมัครสอบหรือในระดับที่สูงกว่าแล้ว สามารถใช้หนังสือรับรองผลการสอบผ่านฯ ดังกล่าวแทนการสอบเพื่อวัดภาคความรู้ความสามารถทั่วไปของกรุงเทพมหานครในครั้งนี้ได้
  3. ผู้สมัครสอบที่ยังไม่ได้เป็นผู้สอบผ่านการวัดภาคความรู้ความสามารถทั่วไปของกรุงเทพมหานคร และไม่ได้เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ในระดับวุฒิการศึกษาที่ใช้สมัครสอบหรือในระดับที่สูงกว่า จะต้องสอบภาคความรู้ความสามารถทั่วไปของกรุงเทพมหานครในครั้งนี้ หากผู้สมัครสอบดังกล่าวสอบผ่านและมีคุณสมบัติถูกต้องตรงตามประกาศรับสมัคีรสอบฯ กรุงเทพมหานครจะขึ้นบัญชีและจัดทำทะเบียนเป็นผู้สอบผ่านการวัดภาคความรู้ความสามารถทั่วไปของกรุงเทพมหานครต่อไป
  4. ผู้ที่สมัครสอบเพื่อวัดภาคความรู้ความสามารถทั่วไปที่มีหลักฐานรับรองผลการทดสอบภาษาอังกฤษที่ยังไม่หมดอายุการรับรองผลการทดสอบจาก TOEFL (ไม่รวม TOEFL ITP) TOEIC IELTS CU TEP หรือ TU GET ตามเงื่อนไขที่ ก.ก. กำหนด ในตารางแนบท้ายประกาศนี้ สามารถนำผลการทดสอบดังกล่าว มาใช้แทนผลการทดสอบวิชาภาษาอังกฤษในภาคความรู้ความสามารถทั่วไปได้โดยให้ส่งสำเนาหลักฐานดังกล่าว มาใช้แทนผลการทดสอบวิชาภาษาอังกฤษในภาคความรู้ความสามารถทัว่ไปได้ โดยให้ส่งสำเนาหลักฐานดังกล่าว พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง ลงลายมือชื่อตัวบรรจงกำกับ ระบุชื่อตำแหน่ง เลขประจำตัวสอบ และเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก ที่กองสรรหาบุคคล สำนักงาน ก.ก. ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) เลขที่ 173 ถนนดินสอ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 ในวันและเวลาราชการ ก่อนวันสอบเพื่อวัดภาคความรู้ความสามารถทั่วไปเท่านั้น หากส่งทางไปรารีย์ให้ส่งล่วงหน้าก่อนวันสอบไม่น้อยกว่า 5 วันทำการ และให้วงเล็บที่มุมซองด้านขวาล่างว่า (หลักฐานรับรองผลการทดสอบภาษาอังกฤษ) ทั้งนี้ สำนักงาน ก.ก. จะถือวันที่ที่ทำการไปรษณีย์ต้นทางประทับตรารับเอกสารเป็นสำคัญ

ก. การสอบเพื่อวัดภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (คะแนนเต็ม 200 คะแนน) ดังต่อไปนี้

1. วิชาความรู้ความสามารถทั่วไป (คะแนนเต็ม 150 คะแนน) โดยวิธีการสอบข้อเขียน

(1) ด้านการคิดคำนวณ

ทดสอบความสามารถในการประยุกต์ใช้ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของจำนวนหรือปริมาณ การแก้ปัญหาเชิงปริมาณ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณต่างๆ

(2) ด้านเหตุผล

ทดสอบความสามารถในการคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงของคำ ข้อความ หรือรูปภาพ การคิดวิเคราะห์ การหาข้อยุติ หรือข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่างๆ

(3) ด้านภาษา

ทดสอบความสามารถในการอ่าน และการทำความเข้าใจกับบทความ หรือข้อความที่กำหนดให้แล้วตอบคำถามที่ตามมาในแต่ละบทความ หรือข้อความ การสรุปความ ตีความ และการใช้ภาษา การเลือกใช้คำ หรือกลุ่มคำ การเขียนประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา และการเรียงข้อความ

2. วิชาภาษาอังกฤษ (คะแนนเต็ม 50 คะแนน) โดยวิธีการสอบข้อเขียน

ทดสอบความสามารถด้านการพูด เขียน อ่าน และฟังภาษาอังกฤา และความเข้าใจในสาระสำคัญของข้อความในระดับเบื้องต้น

หลักสูตรและวิธีการสอบภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยใช้วิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต้ม 200 คะแนน)

เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน

  1. ความรู้เกี่ยวกับงานด้านการรักษาความสะอาด ได้แก่
    1. การควบคุมการเก็บขนขยะมูลฝอย การกวาด การขนถ่ายสิ่งปฏิกูลและไขมัน
    2. อัตราค่าธรามเนียมและค่าบริการ
    3. การให้บริการแก่ประชาชน
    4. ประเภทมูลฝอยและประเภทภาชนะรองรับมูลฝอย
    5. การมีส่วนร่วมของประชานในการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง การลดปริมาณมูลฝอย และการดูแลพื้นที่สีเขียว
    6. การให้บริการเก็บขนไขมัน ของเสียอันตรายและสิ่งเปรอะเปื้อนในเขตกรุงเทพมหนคร
  2. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
    1. นโยบายของกรุงเทพมหานครด้านการรักษาความสะอาด
    2. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและพนักงานเจ้าหน้าที่
    3. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ.2535 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและพนักงานเจ้าหน้าที่
    4. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การเก็บ ขน และกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย พ.ศ2544
    5. ข้อบังคับกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลของอาคารสถานที่และสถานบริการสาธารณสุข พ.ศ.2545
    6. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ค่าธรรมเนียมการเก็บและขนสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    7. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องค่าธรรมเนยีมการให้บริการในการจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข พ.ศ2562

เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน

  1. หลักพฤกษศาสตร์เบื้องต้น การจำแนกพืช
  2. การปรับปรุงพันธุ์พืช การขยายพันธุ์พืชรูปแบบต่างๆ เช่น การเพาะเมล็ด การติดตาต่อกิ่ง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นต้น
  3. การดูแลบำรุงรักษา ได้แก่ การปลูก การปรับปรุงดิน การห้ปุ๋ย การให้น้ำ การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การตัดแต่งและควบคุมทรงพุ่ม การค้ำยัน การศัลยกรรม การล้อมย้าย
  4. การจัดภูมิทัศน์ ได้แก่ การออกแบบ การตกแต่างเพื่อจัดภูมิทัศน์ สภาพแวดล้อมและการจัดการสิ่งแวดล้อม
  5. การส่งเสริมการเกษตร ฝึกอบรม และเผยแพร่ความรู้ทางการเกษตร เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่
  6. เศรษฐกิจการเกษตร การพัฒนาธุรกิจการเกษตร และการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
  7. เครื่องจักรกลการเกษตร และอุปกรณ์การเกษตรประเภทต่างๆ
  8. เทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร และการนำนัวตกรรมมาใช้

เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

  1. ความรู้เกี่ยวกับหลักการบัญชีที่วไป งบประมาณ และการเงิน เช่น การจัดทำบัญชีเงินสด บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีแยกประเภท บัญชีย่อยต่างๆ การจัดทำรายงานทางการเงิน การตรวจสอบความถูกต้องของบัญชีและเงินฝากธนาคาร การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี การตั้่งฎีกาเบิกเงิน การตรวจสอบใบสำคัญเบิกเงิน และเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงิน เป็นต้น
  2. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ได้แก่
    1. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2529 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ.2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    3. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ2560
    4. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560

เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่

  • การควบคุม ดูแล ติดตั้ง บำรุงรักษา ซ่อมแซม แก้ไขปัญหาการใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อพ่วงและอุปกรณ์เครือข่าย รวมทั้งระบบปฏิบัติการและระบบสนับสนุนต่างๆ ให้ใช้งานได้ยอ่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
  • การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล ปรับปรุง ดูแลรักษาความปลอดภัย การจัดเก็บสำรอง กู้คืนข้อมูล และการดูแลบำรุงรักษาก่อนเสีย (Preventive Maintenance : PM) การจัดทำทะเบียนรวบรวมและจัดเก็ฐข้อมูลทางสถิติตของการใช้งานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา การให้คำแนะนำแก้ไขปัญหาการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ดังกล่าวข้างต้น
  • กฎหมายที่เกียวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัล

เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

  1. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางการจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียม ได้แก่
    1. พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
    2. พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช 2475 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
    3. พระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ.2508 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
    4. พระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ.2508 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
    5. พระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดรถในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2562 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
    6. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การเก็บภาษีบำรุงกรุงเทพมหานคร สำหรับน้ำมันเบนซินและน้ำมันที่คล้ายกัน น้ำมันดีเซลและน้ำมันที่คล้ายกันและก๊าซปิโตรเลียมในสถานการค้าปลีก พ.ศ.2558

เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

  1. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติด้านงานธุรการ งานสารบรรณและงานพัสดุ ได้แก่
  2. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
    1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    3. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
    4. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    5. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง รถราชการ พ.ศ.2529 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    6. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
    7. ระเบียบกระทรวงการคลังว่ด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
    8. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่ด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงินและการตรวจเงิน พ.ศ.2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    9. พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558
    10. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.2555

เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน

  1. ความรู้เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์
    1. หลักการประชาสัมพันธ์
    2. การผลิตและการเลือกใช้สื่อประชาสัมพันธ์
    3. การเลือกใช้ช่องทางการเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์
  2. เทคนิคการสื่อสาร
    1. ทฤษฎีการสื่อสาร
    2. เทคนิคการพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์
    3. เทคนิคการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
  3. เทคโนโลยีสารสนเทศ
    1. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
    2. ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานด้านการประชาสัมพันธ์
  4. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน เช่น
    1. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
    3. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
  5. ความรู้เกี่ยวกับยุทธศาสตร์และนโยบายในระดับชาติและกรุงเทพมหานคร
  6. จรรยาบรรณและคุณสมบัติที่ดีของนักประชาสัมพันธ์

เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

  1. ความรู้เกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ
    1. การจัดหา จัดซื้อ ว่าจ้าง การเก็บรักษา นำส่ง การซ่อมแซม และบำรุงรักษาพัสดุ การจำหน่ายครุภัณฑ์ และอุปกรณ์สำนักงานต่างๆ
    2. ทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญ หลักฐานและเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ
    3. ร่างและตรวจสัญญาซื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึกย่อเรื่องเกี่ยวักบงานพัสดุ
  2. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
    1. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่ด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงินและการตรวจเงิน พ.ศ.2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ พ.ศ.2543
    3. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
    4. ระเบียบกระทรวงการคลังว่ด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
    5. กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
      1. กำหนดให้หน่วยงานอื่นเป็นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
      2. กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับผู้มีสิทธิขอขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ พ.ศ.2560
      3. กำหนดพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน และกำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีคัดเลือก และวิธีเฉพาะเจาะจง พ.ศ.2560
      4. กำหนดวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจงวงเงิน การจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือ และวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างในการแต่งตั้งผู้ตรวจรับพัสดุ พ.ศ.2560
      5. กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขึ้นทะเบียนที่ปรึกษา พ.ศ2560
      6. กำหนดอัตราค่าจ้างผู้ให้บริการงานจ้างออกแบบ หรือควบคุมงานก่อสร้าง พ.ศ.2560
      7. กำหนดเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างกับหน่วยงานของรัฐที่ใช้สิทธิอุทธรณ์ไม่ได้ พ.ศ.2560
      8. กำหนดกรณีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง พ.ศ.2560

เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน

  1. ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม งานด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และการบริหาร การจัดเตรียมดูแลรักษาเครื่องแก้ว เครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศษสตร์ การเก็ฐรักษาวัสดุวิทยาศาสตร์ เคมีภัณฑ์ การเก็บและรักษาสภาพตัวอย่างมูลฝอย สิ่งปฏิกูล น้ำมันและไขมัน ปุ๋ยอินทรีย์ น้ำและตะกอน จากแม่น้ำ คลอง สระน้ำ บึงและระบบบำบัดต่างๆ การปรับตั้งเครื่องมือให้ได้ความเที่ยงตรง แม่นยำ และถูกต้องตามลักษณะงาน การเตรียมสารเคมี การคำนวณความเข้มข้นของสารเคมีเบื้องต้น รวบรวมข้อมูลให้นักวิทยาศาสตร์ ให้คำแนะนำ และคำปรึกษาแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ในการวิเคราะห์เบื้องต้น
  2. ความรู้เกี่ยวกับนโยบายทางด้านสิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร และกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม โรงงานอุตสาหกรร การควบคุมอาคาร ได้แก่
    1. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    3. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    4. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    5. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน (ผู้นำกิจกรรมศิลปะ)

  1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านศิลปกรรม ทัศนศิลป์ นิเทศศิลป์
  2. การออกแบสื่อประชาสัมพันธ์ โฆษณา
  3. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมนันทนาการแก่ประชาชนทุกเพศวัย
  4. การถ่ายทอดความรู้ให้กับเด็กและเยาวชน

เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน (ผู้นำกิจกรรมคหกรรมศาสตร์)

ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานศูนย์เยาวชนทางด้านคหกรรมศาสตร์ ได้แก่ จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมจูงใจเยาวชนและประชาชนให้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ จัดกิจกรรมเพื่อให้มีการพัฒนาด้านร่างกายและจิตใจ ตามนโยบายและแผนงานของหน่วยงานและส่วนราชการและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น คหกรรมศาสตร์ ศิลปะประดิษฐ์ หัตถกรรม งานดอกไม้ ใบตอง แกะสลัก อาหารและโภชนาการ งานผ้า เป็นต้น


เจ้าพนักงานสถิติปฏิบัติงาน

  1. ความรู้ด้านสถิติเบื้องต้นเกียวกับการเก็บรวบรวมและยันทึกข้อมูลสถิติ การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การเรียบเรียง การจัดลำดับข้อมูล ประมวลผล วิเคระาหืข้อมูลและแปลความหมายข้อมูล ทำแผนภาพทางสถิติ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานสำหรับงานทางด้านสถิติ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติสถิติ พ.ศ.2550 ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

  1. ความรู้เกี่ยวกับงานสาธารณสุขเบื้องต้น ได้แก่
    1. หลักการปรฐมพยาบาลเบื้องต้น การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR : Cardio Pulmonary Resuscitation)
    2. การควบคุมและป้องกันโรค
    3. การส่งเสรวิมสุขภาพอนามัยตามกลุ่มวัย
    4. งานทางด้านระบาดวิทยา การเฝ้าระวังโรค การสอบสวนโรค
    5. งานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม งานอาชีวอนามัย สุขาภิบาลอาหาร
    6. งานสุขศึกษา เผยแพร่ อบรม สาธิตให้ความรู้ด้านสาธารณสุขแก่อาสาสมัครสาธารณสุข กรรมการชุมชน ประชาชน และเครือข่ายสุขภาพ
    7. การวิเคราะห์ปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหา การเขียนโครงการและประเมินโครงการ
  2. กฎหมายและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสาธารณสุข ได้แก่
    1. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558
    3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    4. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    5. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    6. พระราชบัญญัติป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น พ.ศ.2559
    7. พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551
    8. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    9. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
    10. พระราชบัญญํติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2562
    11. พระราชบัญญํติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562
  3. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิตามหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน ประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว และสิทธิผู้ป่วย

เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

  1. ความรู้เกี่ยวกับงานด้านการติดต่อสื่อสารตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ.2498 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
  2. ระเบียบที่เกียวข้องตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
  3. หลักการติดต่อสื่อสารที่กรุงเทพมหานครใช้อยู่ในปัจจุบัน เช่น Digital Trunked Radio System ระบบสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบโซเชียลเน็ตเวิร์ค
  4. หลักปฏิบัติในการติดต่อสื่อสาร การใช้ การดูแลรักษาวิทยุสื่อสาร เครื่องมือสื่อสาร
  5. การนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ให้เหมาะสมเป็นประโยชน์กับงานที่ปฏิบัติ

เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน

ความรู้เกีย่วกับการปฏิบัติงานโสตทัศนศึกษา ได้แก่

  1. การถ่ายภาพนิ่ง การถ่ายวีดิทัศน์ การบันทึกเสียง การตัดต่อลำดับภาพ การจัดทำสำเนาภาพ สำเนาแผ่นวีดิทัศน์ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นในการนำเสนองานต่างๆ
  2. การใช้และควบคุมการใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ประเภทต่างๆ เช่น เครื่องฉายวีดิโอโปรเจคเตอร์ เครื่องฉายภาพทึบแสง เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นวีดิทัศน์ เครื่องขยายเสียง จอแอลอีดีในการประชุม สัมมนา และฝึกอบรมต่างๆ
  3. การเก็บรักษา ซ่อมแซมเครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์
  4. การจัดทำเว็บไซต์ สื่อออนไลน์ การใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือด้านการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์สมัยใหม่

เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน

  1. ความรู้เกีย่วกับงานห้องสมุด พิจารณาเสนอแนะในการจัดหาและคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด จัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ และบันทึกลงฐานข้อมูลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ให้บริการตอบคำถามช่วยค้นคว้าข้อมูล และอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่ใช้บริการ การเตรียมหนังสือพร้อมให้บริการ ควบคุม ดูแล และซ่อมแซมหนังสือที่ชำรุด จัดนิทรรศการ และประชาสัมพันธ์ห้องสมุดเพื่อชักจูงให้ประชาชนมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น เก็บรวบรวมสถิติและจัดทำรายงานประจำเดือน/ประจำปีของห้องสมุด ดูแล เก็บรักษา ซ่อมแซมหนังสือเพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมให้บริการ อาคาร สถานที่ วัสดุและครุภัณฑ์ของห้องสมุด และความรู้เบื้องต้นเกียวกับ
    1. หลักการประสานงาน
    2. ความรู้ด้านการออกแบบบริการที่เหมาสมกับยุคดิจิทัล
    3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    4. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

บำรุงรักษา ซ่อม แก้ไข ปรับปรุง แผนงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ที่จะใช้กับเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องทุ่นแรง การออกแบบ เขียนแบบเครื่องกล การใช้เครื่องมือวัดละเอียด การสอบเทียบเครื่องมือวัดละเอียด การเชื่อมโลหะ การใช้งานเครื่องมือช่าง การดูแล จัดเก็บ และบำรุงรักษาอย่างถูกวิธี การจัดหาพัสดุมาใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทำรายงาน การจัดเก็บข้อมูลสถิติด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น การให้คำปรึกษา แนะนำที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่กับผู้รับบริการ หรือประชาชนทั่วไป และมีความรู้เกียวกับเหตุการณ์ทางช่างในปัจจุบัน เทคนิคและเทคโนโลยีสมัยใหม่


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

ความรู้เกี่ยวกับงานด้านช่างไฟฟ้า ได้แก่ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนแบบ อ่านแบบไฟฟ้าหรืออิเล็กทรอนิกส์ การประมาณราคา การติดตั้งวัสดุ อุปกรณ์ ปรับปรุง ซ่อมและบำรุงรักษา งานระบบไฟฟ้าสื่อสาร ระบบคอมพิวเตอร์ การคำนวณหาขนาดวัสดุ อุปกรณ์ในงานระบบไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ การตรวจสอบและจัดทำแผนการซ๋อมบำรุง ดูแล รักษาวัสดุอุปกรณ์ ในงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งจัดทะเบียน รวบรวมและเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

  1. ความรู้เกี่ยวกับงานด้านเทคนิคต่างๆ เช่น ซ่อม สร้าง ประกอบ บำรุงรักษา ดัดแปลง ออกแบบ ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือทางไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า ปั๊มน้ำ เครื่องทำความเย็น เครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ (ซิลเลอร์) เครื่องจักร เครื่องยนต์ โลหะ เครื่องมือเกี่ยวกับอุปกรณ์งานช่าง งานทางด้านสาธารณูปโภค อุปกรณ์ทางการแพทย์ เครื่องจักรกล เครื่องวิทยุคมนาคม งานโครงสร้างอาคาร การประหยัดพลังงาน เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งมีความรู้ในเรื่องการคำนวณรายการและประมาณราคาค่าอุปกรณ์เพื่อใช้ในการประมาณราคา การจัดซื้ออุปกรณ์ให้เหมาะสมต่อพื้นที่และการใช้งาน
  2. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
    1. พระราชบัญญัติส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ.2511 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    3. กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 พ.ศ.2535 ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

  1. งานช่างรังวัด
  2. งานช่างเขียนแบบ ออกแบบ และการกำหนดรายการ
  3. ข้อกำหนด กฎหมายคบคุมอาคาร และผังเมือง
  4. งานถอดแบบ และประมาณราคา
  5. การควบคุมการก่อสร้าง
  6. การวางแผนงานโครงการก่อสร้าง
  7. การดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วม การระบายน้ำและการบำรุงรักษาแหล่งน้ำ
  8. การให้คำปรึกษา แนะนำ หรือตรวจสอบเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป

นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน

  1. ความรู้ในการปฏิบัติงานด้านช่างสำรวจ ได้แก่
    1. งานสำรวจที่เกี่ยวกับการเก็บรายละเอียดสภาพภูมิประเทศ
    2. งานวงรอบที่เกี่ยวกับวงรอบชนิดต่างๆ การตรวจสอบและปรับแก้วงรอบ
    3. งานระดับที่เกี่ยวกับการหาค่าระดับภูมิประเทศ เช่น การหาความสูงต่ำของพื้นที่ การเขียนค่าเส้นชั้นความสูง การหาค่าดินตัดดินถม
    4. งานคำนวณและเขียนแผนที่ เช่น การคำนวณระยะ การคำนวณพื้นที่จากค่าพิกัดฉากสัญลักษณ์ต่างๆ ในงานแผนที่
    5. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม เช่น ประโยชน์ของภาถ่าย หลักการแปลภาพถ่าย
    6. ความรู้เกี่ยวกับระวางแผนที่
    7. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดทำแผนที่ด้วยดาวเทียม (GNSS)
    8. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ (GIS)
    9. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ในงานเขียนแผนที่ เช่น โปรแกรม Autocad
    10. ความรู้เกี่ยวกับการดูแล บำรุง รักษา เครื่องมือสำรวจ
  2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายที่ใช้ในงานดูแลรักษาที่สาธารณะ ได้แก่
    1. พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    3. ประมวลกฎหมายที่ดิน
  3.  

นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

  1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับงานศิลปะ ประวัติศาสตร์ศิลป์ วิจิตรศิลป์ ประยุกต์ศิลป์ องค์ประกอบศิลป์ นิทรรศการ สี ฯลฯ และการใช้คอมพิวเตอร์กราฟฟิกในการออกแบบงานศิลป์วิธีการสอบ
    1. วิธีการสอบข้อเขียน จำนวน 20 ข้อ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน)
    2. วิธีสอบภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ข้อ (คะแนนเต็ม 180 คะแนน)

พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

การสอบข้อเขียน

  1. สิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
  2. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
  3. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
  4. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ในส่วนของการบังคับที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
  5. พระราชบัญญัติการขุดินและถมดิน พ.ศ.2543
  6. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
  7. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
  8. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
  9. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ พ.ศ.2545
  10. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแบ่งค่าปรับที่ได้จากการเปรียบเทียบให้แก่ผู้แจ้งความนำจับตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ.2560
  11. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
  12. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2554
  13. วินัยข้าราชการ
  14. ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
  15. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ.2562

การสอบปฏิบัติ

ผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถทั่วไป และภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งจะต้องเข้ารับรับการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย ซึ่งจะต้องทดสอบผ่านทุกข้อจึงจะถือว่า “ผ่าน” ดังนี้

  1. วิ่ง ระยะทาง 400 เมตร
    เกณฑ์การทดสอบ
    เพศชาย ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 1 นาที 30 วินาที ถือว่า “ผ่าน”
    เพศหญิง ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 1 นาที 45 วินาที ถือว่า “ผ่าน”
    ผู้ทดสอบ “ผ่าน” จึงมีสิทธิเข้าทดสอบว่ายน้ำ
  2. ว่ายน้ำ ระยะทาง 25 เมตร
    เกณฑ์การทดสอบ
    เพศชาย ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 30 วินาที ถือว่า “ผ่าน”
    เพศหญิง ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 40 วินาที ถือว่า “ผ่าน”
    ผู้ทดสอบ “ผ่าน” จึงมีสิทธิเข้าทดสอบลุกนั่ง
    การปฏิบัติ
    1. ท่าเตรียม ผู้เข้ารับการทดสอบยื่นที่จุดเร่ิมต้นโดยให้ลงสระแล้วเกาะที่ขอบสระที่จุดเริ่มต้นพร้อมที่จะปฏิบัติ
    2. ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบพุ่งตัวหรือเคลื่อนตัวออกจากขอบสระในจุดเริ่มต้นแล้วว่ายน้ำโดยเร็วจนถึงขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็นจุดสิ้นสุด ให้ถือเอาส่วนใดของร่างกายแตะขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็นจุดสิ้นสุด
    3. ห้ามมิให้ผู้เข้ารับการทดสอบเกาะทุ่นหรือขอบสระหรือใช้เท่าแตะพื้นสระในการพยุงการเคลื่อนตัวเข้าจุดสิ้นสุด ให้ถือว่า “ไม่ผ่าน”
  3. ลุกนั่ง ภายในเวลา 1 นาที
    เกณฑ์การทดสอบ
    เพศชาย ผู้ที่ทำได้ 30 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
    เพศหญิง ผู้ที่ทำได้ 20 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
    ผู้ทดสอบ “ผ่าน” จึงมีสิทธิเข้าทดสอบยึดพื้นหรือดันข้อ
    การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทั้งสองข้างห่างกันพอประมาณ ฝ่ามือทั้งสองประสานกันที่ท้ายทอย ผู้ช่วยคุกเข่าอยู่บนปลายเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบ โดยเอามือทั้งสองข้างกดข้อเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบไว้ให้ส้นเท้าติดพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบลุกขึ้นนั่งให้ศอกทั้งสองข้างแตะปลายเข่าแล้วกลับลงไปนอนราบนับเป็น 1 ครั้ง ขณะปฏิบัตินิ้วมือประสานที่ท้ายทอยตลอดเวลา และขณะที่ลุกขึ้นสู่ท่านั่งห้ามเอนตัวไปมา
  4. ยึดพื้นหรือดันข้อ ภายในเวลา 1 นาที
    เกณฑ์การทดสอบ
    เพศชาย ผู้ที่ทำได้ 25 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
    เพศหญิง ผู้ที่ทำได้ 25 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
    การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนคว่ำมือยันพื้น แขนทั้งสองเหยียดตรงห่างกันพอประมาณ ลำตัวเหยียดตรง (เพศชายให้ปลายเท้าจรดพื้น, เพศหญิงให้หัวเข่าและปลายเท้าจรดพื้น) ยุบแขนทั้งสองข้างลงพร้อมกันให้บริเวณหน้าอกห่างจากพื้นประมาณ 1 ฝ่ามือ แล้วดันลำตัวขึ้น ห้ามทำตัวแอ่น หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง หรือแขนทั้งสองข้างขึ้นไม่พร้อมกัน

ทั้งนี้ การทดสอบสมรรถภาพร่างกายจะไม่มีการกำหนดคะแนน และใช้เกณฑ์การตัดสิน “่ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผู้ทีผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย จึงจะมีสิทธิเข้ารับการประเมินในภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป


พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

  1. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการทะเบียนและปกครอง ได้แก่
    1. ด้านการทะเบียนราษฎร ได้แก่ การแจ้งย้ายเข้า-ออก การแจ้งเกิด การแจ้งตาย
    2. การทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชน
    3. การทะเบียนทั่วไป ได้แก่ การจดทะเบียนสมรส การจดทะเบียนหญ่า การจดทะเบียนรับรองบุตร การจดทะเบียนรับรองบุตรบุญธรรม
    4. ด้านการทะเบียนปกครอง ได้แก่ การจดทะเบียนพินัยกรรม การจดทะเบียนมูลนิธิ สมาคม การจดทะเบียนพาณิชย์
  2. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ได้แก่
    1. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
    2. พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    3. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    4. พระราชบัญญัติการจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ.2478 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    5. พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร์ พ.ศ.2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    6. พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ.2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
  3.  

พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

การสอบข้อเขียน

  1. ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ วิจัย การวางแผนเพื่อระงับอัคคีภัย การป้องกันและบรรเทาอันตรายจากอุทกภัย วาตภัย และภัยอื่นๆ รวมทั้งทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฟื้นฟูและบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัย
  2. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
    1. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
    2. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันอัคคีภัย)
    3. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    4. กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) กฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ.2537) กฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540)
    5. กฎกรทะรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.2555

การสอบปฏิบัติ

ผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถทั่วไป และภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งจะต้องเข้ารับการทดสอบการปฏิบัติงานเพื่อเตรียมความพร้อมทางร่างกาย ซึ่งจะต้องทดสอบผ่านทุกข้อจึงจะถือว่า “ผ่าน” ดังนี้

  1. วิ่ง ระยะทาง 1,000 เมตร
    เกณฑ์การทดสอบ
    ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 6 นาที ถือว่า “ผ่าน” และมีสิทธิเข้าทดสอบว่ายน้ำ
  2. ว่ายน้ำ ระยะทาง 50 เมตร
    เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 1 นาที 30 วินาที โดยไม่สาวลู่ ถือว่า “ผ่าน” และมีสิทธิเข้าทดสอบความพร้อมในการปฏิบัติงานด้วยท่าต่างๆ จำนวน 4 ท่า
  3. ทดสอบความพร้อมในการปฏิบัติงานด้วยท่าต่างๆ จำนวน 4 ท่า
    เกณฑ์การทดสอบ จะต้องทดสอบผ่านาทุกท่าจึงจะถือว่า “ผ่าน” ดังนี้
    1. ดึงข้อ
      เกณฑ์การทดสอบ
      ผู้เข้าทดสอบเพศชายดึงข้อได้ครบ 5 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน” หากดึงข้อไม่ครบ 5 ครั้งและเท้าแตะพื้น ถือว่า “ไม่ผ่าน”
      ผู้เข้าทดสอบเพศหญิงดึงข้อได้ครบ 3 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน” หากดึงข้อไม่ครบ 3 ครั้งและเท้าแตะพื้น ถือว่า “ไม่ผ่าน”
      การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบจับราวเดี่ยวด้วยท่าจับคว่ำมือ มือห่างกันเท่าช่วงไหล่ ปล่อยตัวให้ตรงจนแขน ลำตัว และขาเหยียดตรง เท้าพ้นพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ผู้เข้ารับการทดสอบออกแรงโดยงอแขนดึงตัวขึ้นให้คางพ้นหรือเสมอระดับราวแล้วปล่อยตัวลงให้ศีรษะต่ำกว่าราว เท่ากับการนับ 1 ครั้ง
  4. ผลักบันไดตามช่องที่กำหนดไว้ เข้าไปติดตั้งประจำที่บนรถดับเพลิง ในท่ายืนเท้าไม่พ้นพื้น
    เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 15 วินาที ต่อครั้ง และไม่เกิน 2 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
  5. แบกตุ๊กตาน้ำหนัก 50 กิโลกรัม ขึ้นและลงบันไดดับเพลิงความสูง 2 เมตร
    เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 45 วินาที ถือว่า “ผ่าน”
  6. ดันพื้น ภายในเวลา 1 นาที
    เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำได้ 20 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
    การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนคว่ำมือยันพื้น แขนทั้งสองเหยียดตรงห่างกันพอประมาณ ลำตัวเหยียดตรง ยุบแขนทั้งสองข้างลงพร้อมกันให้บริเวณหน้าอกห่างจากพื้นประมาณ 15 เซนติเมตร แล้วดันลำตัวขึ้น ห้ามทำตัวแอ่น หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง หรือแขนทั้งสองข้างขึ้นไม่พร้อมกัน เท่ากับการนับ 1 ครั้ง

ทั้งนี้ การทดสอบสมรรถภาพร่างกายจะไม่มีการกำหนดคะแนน และใช้เกณฑ์การตัดสิน “่ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผู้ทีผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย จึงจะมีสิทธิเข้ารับการประเมินในภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป


โภชนากรปฏิบัติงาน

ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางโภชนาการ ได้แก่ การกำหนดรายการอาหารตามหลักโภชนาการ และโภชนบำบัดสำหรับโรคต่างๆ กลุ่มวัย และตามแผนการรักษาของแพทย์ การจัดทำรายการอาหารหมุนเวียน การคำนวณปริมาณอาหารจำนวนมาก การคำนวณพลังงานและสารอาหารโดยใช้อาหารแลกเปลี่ยน หลักการประกอบอาหารและโภชนาการ การจัดการและกระบวนการเตรียม ประกอบ เก็บรักษา และควบคุมคุณภาพอาหารในโรงพยาบาล การประยุกต์ใช้วัตถุดิบ อุปกรณ์ เครื่องมือและการบำรุงรักษา สำหรับการผลิตอาหารโดยคำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัย การจัดการสุขาภิบาลอาหาร และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การนำเทคโนโลยีมาใช้ในงานบริการอาหาร พื้นฐานด้านอาหารและโภชนาการตามกลุ่มวัยต่างๆ


เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

การสอบข้อเขียน

  1. ความรู้เกียวกับการศึกษา วิเคราะห์ การกำหนดมาตรการ แนวทางปฏิบัติงาน การจัดทำแผน การวางแผน การข่าว การใช้กำลังคนด้านเทศกิจ การควบคุม ดูแล การตรวจตราพื้นที่ สังเกตความผิดปกติของวัตถุสิ่งของหรือบุคคล การเฝ้าระวังการดำเนินการต่างๆ ของประชาชน การปฏิบัติงานมวลชนสัมพันธ์
  2. ความรู้เกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
  3. บทบาทและอำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เทศกิจในเรื่องการจับ การปรับ การดำเนินคดี การยึดอายัดเอกสารหลักฐาน ยานพาหนะ หรือสิ่งใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกระทำผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ความเข้าใจในกฎหมายปกครองเพื่อป้องกันการถูกดำเนินคดีทางปกครอง การดำเนินการทางปกครอง
  4. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
    1. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    3. พระราชบัญญัติการขุดินและถมดิน พ.ศ.2543
    4. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    5. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
    6. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
    7. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ พ.ศ.2545
    8. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแบ่งค่าปรับที่ได้จากการเปรียบเทียบให้แก่ผู้แจ้งความนำจับตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ.2560
    9. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    10. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2554
    11. วินัยข้าราชการ
    12. ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
    13. พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ.2562

การสอบปฏิบัติ

ผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถทั่วไป และภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งจะต้องเข้ารับรับการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย ซึ่งจะต้องทดสอบผ่านทุกข้อจึงจะถือว่า “ผ่าน” ดังนี้

  1. วิ่ง ระยะทาง 400 เมตร
    เกณฑ์การทดสอบ
    เพศชาย ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 1 นาที 30 วินาที ถือว่า “ผ่าน”
    เพศหญิง ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 1 นาที 45 วินาที ถือว่า “ผ่าน”
    ผู้ทดสอบ “ผ่าน” จึงมีสิทธิเข้าทดสอบว่ายน้ำ
  2. ว่ายน้ำ ระยะทาง 25 เมตร
    เกณฑ์การทดสอบ
    เพศชาย ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 30 วินาที ถือว่า “ผ่าน”
    เพศหญิง ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 40 วินาที ถือว่า “ผ่าน”
    ผู้ทดสอบ “ผ่าน” จึงมีสิทธิเข้าทดสอบลุกนั่ง
    การปฏิบัติ
    1. ท่าเตรียม ผู้เข้ารับการทดสอบยื่นที่จุดเร่ิมต้นโดยให้ลงสระแล้วเกาะที่ขอบสระที่จุดเริ่มต้นพร้อมที่จะปฏิบัติ
    2. ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบพุ่งตัวหรือเคลื่อนตัวออกจากขอบสระในจุดเริ่มต้นแล้วว่ายน้ำโดยเร็วจนถึงขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็นจุดสิ้นสุด ให้ถือเอาส่วนใดของร่างกายแตะขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็นจุดสิ้นสุด
    3. ห้ามมิให้ผู้เข้ารับการทดสอบเกาะทุ่นหรือขอบสระหรือใช้เท่าแตะพื้นสระในการพยุงการเคลื่อนตัวเข้าจุดสิ้นสุด ให้ถือว่า “ไม่ผ่าน”
  3. ลุกนั่ง ภายในเวลา 1 นาที
    เกณฑ์การทดสอบ
    เพศชาย ผู้ที่ทำได้ 30 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
    เพศหญิง ผู้ที่ทำได้ 20 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
    ผู้ทดสอบ “ผ่าน” จึงมีสิทธิเข้าทดสอบยึดพื้นหรือดันข้อ
    การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทั้งสองข้างห่างกันพอประมาณ ฝ่ามือทั้งสองประสานกันที่ท้ายทอย ผู้ช่วยคุกเข่าอยู่บนปลายเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบ โดยเอามือทั้งสองข้างกดข้อเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบไว้ให้ส้นเท้าติดพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบลุกขึ้นนั่งให้ศอกทั้งสองข้างแตะปลายเข่าแล้วกลับลงไปนอนราบนับเป็น 1 ครั้ง ขณะปฏิบัตินิ้วมือประสานที่ท้ายทอยตลอดเวลา และขณะที่ลุกขึ้นสู่ท่านั่งห้ามเอนตัวไปมา
  4. ยึดพื้นหรือดันข้อ ภายในเวลา 1 นาที
    เกณฑ์การทดสอบ
    เพศชาย ผู้ที่ทำได้ 25 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
    เพศหญิง ผู้ที่ทำได้ 25 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
    การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนคว่ำมือยันพื้น แขนทั้งสองเหยียดตรงห่างกันพอประมาณ ลำตัวเหยียดตรง (เพศชายให้ปลายเท้าจรดพื้น, เพศหญิงให้หัวเข่าและปลายเท้าจรดพื้น) ยุบแขนทั้งสองข้างลงพร้อมกันให้บริเวณหน้าอกห่างจากพื้นประมาณ 1 ฝ่ามือ แล้วดันลำตัวขึ้น ห้ามทำตัวแอ่น หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง หรือแขนทั้งสองข้างขึ้นไม่พร้อมกัน

ทั้งนี้ การทดสอบสมรรถภาพร่างกายจะไม่มีการกำหนดคะแนน และใช้เกณฑ์การตัดสิน “่ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผู้ทีผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย จึงจะมีสิทธิเข้ารับการประเมินในภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป


เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ

การสอบข้อเขียน

  1. ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ วิจัย การวางแผนเพื่อระงับอัคคีภัย การป้องกันและบรรเทาอันตรายจากอุทกภัย วาตภัย และภัยอื่นๆ รวมทั้งทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฟื้นฟูและบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัย
  2. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
    1. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550
    2. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    3. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    4. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ.2554
    5. กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) กฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ.2537) กฎกระทรวง ฉบับที่ 47 (พ.ศ.2540) กฎกระทรวงฉบับที่ 50 (พ.ศ.2540) และกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญํติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
    6. กฎกรทะรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.2555
    7. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 28
    8. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ.2544
    9. แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2558-2562
    10. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ.2552
    11. พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ.2509 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    12. กฎกระทรวงกำนหดประเภทและระบบความปลอดภัยของอาคารที่ใช้เพื่อประกอบกิจการเป็นสถานบริการ พ.ศ.2555
    13. เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

การสอบปฏิบัติ

ผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถทั่วไป และภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งจะต้องเข้ารับการทดสอบการปฏิบัติงานเพื่อเตรียมความพร้อมทางร่างกาย ซึ่งจะต้องทดสอบผ่านทุกข้อจึงจะถือว่า “ผ่าน” ดังนี้

  1. วิ่ง ระยะทาง 1,000 เมตร
    เกณฑ์การทดสอบ
    ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 6 นาที ถือว่า “ผ่าน” และมีสิทธิเข้าทดสอบว่ายน้ำ
  2. ว่ายน้ำ ระยะทาง 50 เมตร
    เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 1 นาที 30 วินาที โดยไม่สาวลู่ ถือว่า “ผ่าน” และมีสิทธิเข้าทดสอบความพร้อมในการปฏิบัติงานด้วยท่าต่างๆ จำนวน 4 ท่า
  3. ทดสอบความพร้อมในการปฏิบัติงานด้วยท่าต่างๆ จำนวน 4 ท่า
    เกณฑ์การทดสอบ จะต้องทดสอบผ่านาทุกท่าจึงจะถือว่า “ผ่าน” ดังนี้
    1. ดึงข้อ
      เกณฑ์การทดสอบ
      ผู้เข้าทดสอบเพศชายดึงข้อได้ครบ 5 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน” หากดึงข้อไม่ครบ 5 ครั้งและเท้าแตะพื้น ถือว่า “ไม่ผ่าน”
      ผู้เข้าทดสอบเพศหญิงดึงข้อได้ครบ 3 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน” หากดึงข้อไม่ครบ 3 ครั้งและเท้าแตะพื้น ถือว่า “ไม่ผ่าน”
      การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบจับราวเดี่ยวด้วยท่าจับคว่ำมือ มือห่างกันเท่าช่วงไหล่ ปล่อยตัวให้ตรงจนแขน ลำตัว และขาเหยียดตรง เท้าพ้นพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ผู้เข้ารับการทดสอบออกแรงโดยงอแขนดึงตัวขึ้นให้คางพ้นหรือเสมอระดับราวแล้วปล่อยตัวลงให้ศีรษะต่ำกว่าราว เท่ากับการนับ 1 ครั้ง
  4. ผลักบันไดตามช่องที่กำหนดไว้ เข้าไปติดตั้งประจำที่บนรถดับเพลิง ในท่ายืนเท้าไม่พ้นพื้น
    เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 15 วินาที ต่อครั้ง และไม่เกิน 2 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
  5. แบกตุ๊กตาน้ำหนัก 50 กิโลกรัม ขึ้นและลงบันไดดับเพลิงความสูง 2 เมตร
    เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน 45 วินาที ถือว่า “ผ่าน”
  6. ดันพื้น ภายในเวลา 1 นาที
    เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำได้ 20 ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
    การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนคว่ำมือยันพื้น แขนทั้งสองเหยียดตรงห่างกันพอประมาณ ลำตัวเหยียดตรง ยุบแขนทั้งสองข้างลงพร้อมกันให้บริเวณหน้าอกห่างจากพื้นประมาณ 15 เซนติเมตร แล้วดันลำตัวขึ้น ห้ามทำตัวแอ่น หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง หรือแขนทั้งสองข้างขึ้นไม่พร้อมกัน เท่ากับการนับ 1 ครั้ง

ทั้งนี้ การทดสอบสมรรถภาพร่างกายจะไม่มีการกำหนดคะแนน และใช้เกณฑ์การตัดสิน “่ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผู้ทีผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย จึงจะมีสิทธิเข้ารับการประเมินในภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป


นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

  1. ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาการจัดการงานทั่วไป ได้แก่
    1. การบริหารทรัพยากรบุคคลเบื้องต้น
    2. การบริหารงบประมาณ การเงินและบัญชี และการพัสดุเบื้องต้น
    3. การบริหารงานการประชุม
    4. การบริหารอาคารสถานที่เบื้องต้น
    5. การจัดระบบงาน
    6. การเลขานุการเบื้องต้น
    7. การจัดทำรายงาน การติดตามงานและสรุปรายงาน
    8. การรวบรวมข้อมูลสถิติ
    9. งานสารสนเทศ
    10. การฝึกอบรม ประชุม สัมมนา
  2. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
    1. หลักการเขียนหนังสือราชการ
    2. หลักการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ การจัดทำแผนงานและโครงการ การบริหารแผนปฏิบัติราชการ
    3. หลักการประสานงาน การทำงานเป็นทีม การติดต่อสื่อสาร การสร้างความเข้าใจ
  3. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
    1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2554
    3. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
    4. พระราชบัญญํติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    5. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
    6. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
    7. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ.2555
    8. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ลูกจ้าง พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    9. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    10. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    11. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    12. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการให้ข้าราชการกรุงเทพมหานครไปศึกษาฝึกอบรม ดูงานและปฏิบัติการวิจัย พ.ศ.2542
    13. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับสถานที่ราชการของกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 และแก้ไขเพิ่มเติม
    14. พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558

นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

ความรู้ทางวิชาการในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารทรัพยากรบุคคล หรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ได้แก่

  1. การจัดและปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลังขององค์กร
  2. การพัฒนาระบบราชการและการพัฒนาระบบงาน
  3. การวางแผนกำลังคน
  4. การกำหนดตำแหน่ง มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ระบบการจำแนกตำแหน่ง
  5. การวิเคราะห์งานและการประเมินคุณภาพงานของตำแหน่ง
  6. การให้ได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง เงินประจำตำแหน่ง และเงินอื่นๆ
  7. หลักการและแนวทางในการสรรหาและเลือกสรรบุคคล
  8. การบรรจุและแต่งตั้ง
  9. การฝึกอบรม การพัฒนาบุคคล และเครื่องมือการพัฒนาทรัพยากรบุคคลและองค์กร การเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ
  10. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูล เช่น การลา การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การขอพระราชทานเพลิงศพ การได้รับบำเหน็จบำนาญ เป็นต้น
  11. การเสริมสร้างวินัยและจรรยาบรรณข้าราชการกรุงเทพมหานคร
  12. ระบบพิทักษ์คุณธรรม
  13. การออกจากราชการ
  14. การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Magagement)
  15. การพัฒนาองค์กร
  16. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติเบื้องต้น
  17. การประสานงานและการสร้างเครือข่าย
  18. การวางแผนเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ
  19. แผนยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2561-2565
  20.  

นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ

ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม ได้แก่

  1. ข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน และการสังคมสงเคราะห์
    1. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
    3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    4. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องค่าใช้จ่ายเกียวกับการสนับสนุนการพัฒนาชมุชน พ.ศ.2536 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    5. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยชุมชนและกรรมการชุมชน พ.ศ.2555
    6. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนการพัฒนาชุมชน พ.ศ.2554 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    7. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยกองทุนพัฒนาชุมชนกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2538
    8. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ พ.ศ.2557
    9. พระราชบัญญัติหอพัก พ.ศ.2558 และกฎกระทรวงการอนุญาตประกอบกิจการหอพัก พ.ศ.2560
    10. พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    11. พระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ.2551
    12. พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    13. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการจ่ายเงินสมทบ และอัตราการจ่ายเงินสมทบกองทุนสวัสดิการชุมชน พ.ศ.2558
    14. ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP)
    15. การมีส่วนร่วมภาคประชาชน
  2. ความรู้และกระบวนการเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
    1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม ชุมชน และการสังคมสงเคราะห์ เช่น หลักการพัฒนาชุมชน หลักการส่งเสริมการมีส่วนร่วม สนับสนุนการเข้าถึงสิทธิและบริการขั้นพื้นฐาน ข้อมูลชุมชน วิธีการและกระบวนการพัฒนาชุมชน การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชนและผู้นำชุมชน การจัดการความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านต่างๆ การวางแผนงาน โครงการ วและการติดตามประเมินผลเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนและสังคมในด้านต่างๆ เป็นต้น
    2. ทักษะเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนและการสังคมสงเคราะห์ เช่น เทคนิคการประสานงาน เทคนิคการถ่ายทอดความรู้และการฝึกอบรม หลักการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
    3. การส่งเสริมอาชีพ กองทุนชุมชน และการบริหารเงินออม

นักพัฒนาการกีฬาปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานด้านวิชาการกีฬา ศูนย์กีฬา ศูนย์ฝึกกีฬาเยาวชน (โรงเรียน-กีฬากรุงเทพมหานคร) การจัดฝึกอบรมด้นากีฬา วิธีการจัดการเรียนรการสอน การฝึกซ้อมและการแข่งขันกีฬา การตัดสินกีฬา การบาดเจ็บทางกีฬา การปฐมพยาบาล การศึกษาวิเคราะห์วิจัย สำรวจข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวักบกลุ่มเป้าหมายผู้ใช้บริการ และสามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการประชาสัมพันธ์ และระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการดำเนินงานของศูนย์เยาวชนและศูนย์ส่งเสริมกีฬา พ.ศ.2530 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

การสอบปฏิบัติ (100 คะแนน)

ผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป และเข้าสอบข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งก่อน จึงมีสิทธิเข้าทดสอบปฏิบัติเกียวกับทักษะเป็นผู้ฝึกสอนกีฬาดังนี้

  1. วิ่ง 1,200 เมตร (ชาย) ใช้เวลา 5 นาที (25 คะแนน)
    วิ่ง 800 เมตร (หญิง ใช้เวลา 3 นาที 30 วินาที (25 คะแนน)
  2. ว่ายน้ำ 50 เมตร (ชาย) ใช้เวลา 45 วินาที (25 คะแนน)
    ว่ายน้ำ 50 เมตร (หญิง) ใช้เวลา 50 วินาที (25 คะแนน)
  3. สาธิตทักษะการสอนกีฬาใช้เวลา 10 นาที (50 คะแนน)

นักโภชนาการปฏิบัติการ

ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านโภชนาการ ได้แก่ สำรวจ วิเคราะห์ วิจัยปัญหาโภชนาการและสุขภาพประชาชน การป้องกันและบำบัดโรคที่เกิดจากการบริโภคอาหารไม่สมดุล การวางแผน เฝ้าระวังและประเมินภาวะโภชนาการด้วยวิธีการต่างๆ ค้นคว้าและทดลอง วิเคราะห์คุณค่าอาหารและสารอาหารตามหลักวิชาการอาหารและโภชนาการ การส่งเสริมโภชนาการกลุ่มวัยต่างๆ การควบคุม ตรวจสอบการบริการอาหารผู้ป่ายในโรงพยาบาลตามหลักโภชนาการและโภชนบำบัด การจัดการสุขาภิบาลอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หลักการโภชนาการที่เกี่ยวกับบทบาทของสารอาหารต่อสุขภาพ ความต้องการสารอาหาร ปัญหาโภชนาการ การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ และโภชนบำบัดทางการแพทย์


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ

  1. ความรู้ด้านการวางแผน การจัดการ และบริหารด้านสิ่งแวดล้อม
  2. ความรู้เกี่ยวกับการเก็บรักษาสภาพตัวอย่างมูลฝอย สิ่งปฏิกูล น้ำมันและไขมัน ปุ๋ยอินทรีย์ น้ำ และตะกอนจากแม่น้ำ คลอง สระน้ำ และระบบบำบัดต่างๆ
  3. ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราห์ วิจัย ทดลอง ตรวจสอบ ตรวจวัดและควบคุม คุณภาพน้ำ มูลฝอย ตะกอน สิ่งปฏิกูล น้ำมันและไขมัน ปุ๋ยอินทรีย์
  4. ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมระบบบำบัด น้ำ ตะกอน มูลฝอย สิ่งปฏิกูล ไขมันและน้ำมัน
  5. การใช้เครื่องมือในห้องปฏิบัติการทางวิทยาษสตร์ทั้งเครื่องมือพื้นฐานและขั้นสูง
  6. การจัดการ ส่งเสริม พัฒนาห้องปฏิบัติการเพื่อเพิ่มความสามารถในการให้บริการและยกระดับมาตรฐานสู่ระดับสากลตามมาตรฐาน ISO 17025
  7. การดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ
  8. การจัดการห้องปฏิบัติการ ด้านความปลอดภัยและการจัดการสารเคมี
  9. การให้คำปรึกษา เผยแพร่ รณรงค์ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้เกี่ยวข้อง
  10. ความรู้เกี่ยวกับนโยบายทางด้านสิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร และกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม โรงงานอุตสาหกรรม การควบคุมอาคาร ได้แก่
    1. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    3. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    4. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    5. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

  1. ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง และการงบประมาณ
  2. ความรู้เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นโยบายของรัฐบาล และแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
  3. หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ วิเคราะห์ บริหาร ควบคุม ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณของกรุงเทพมหานคร
  4. ความรู้เกี่ยวกับการงบประมาณตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 และพระราชบัญญัติวินัยทางการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561
  5. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2529 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
  6. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการกำหนดประเภทรายรับ – รายจ่าย และการปฏิบัติเกี่ยวกับงบประมาณ พ.ศ.2533 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

  1. ความรู้เกี่ยวกับทักษะภาษาอังกฤษ
    1. หลักการใช้ภาษาอังกฤษ (Grammar)
    2. การใช้คำศัพท์ที่เหมาะสมถูกต้อง ในการเขียน การอ่าน และการพูด (Vocabulary)
    3. การเขียนภาษาอังกฤษในการสื่อสารอย่างตรงประเด็นและครบความ (Effective Communication)
    4. คำศัพท์ระดับพื้นฐานทางพิธีการทูตและการรับรอง
    5. การอ่านจับใจความ การย่อความ และการตีความ
    6. การแปล อังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ
    7. การโต้ตอบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
  2. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
    1. การวางแผนดำเนินงาน/กิจกรรม ในระดับเบื้องต้น
    2. ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และการต่างประเทศ
    3. งานการต่างประเทศของกรุงเทพมหานคร ยุทธศาสตร์ด้านการต่างประเทศของกรุงเทพมหานคร (อ้างอิงจากเว็บไซต์ของกรุงเทพมหานคร)
    4. การต่างประเทศในระดับท้องถิ่น
    5. องค์กรระหว่างประเทศ
    6. สถานการณ์โลกปัจจุบัน เช่น Sustainable Development Goals (SDGs) กรอบความร่วมมืออาเซียน Digital disruption และ Industrial 4.0
    7. การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
    8. หลักพิธีการทูต
    9. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางไปราชการต่างประเทศ

นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

  1. ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ ข่าวสาร การเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการสังคม งานสังคมสงเคราะห์ และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เช่น สังคมของผู้สูงอายุ เครือข่ายสังคมออนไลน์ การตั้งครรภ์ไม่พร้อม ความรุนแรงในเด็กและเยาวชนเพิ่มมากขึ้นในชุมชนและโรงเรียน สังคมคนเร่ร่อน ขอทาน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ความเหลื่อมล้ำทางสังคม การไม่เลือกปฏิบัติ ความอคติทางเพศและการตีตราผู้ติดยาเสพติด ภารกิจดและบทบาทหน้าที่นักสังคมสงเคราะห์ใน 5 สำนัก เป็นต้น
  2. ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสังคมที่เกี่ยวข้องกับงานสังคมสงเคราะห์และพิทักษ์สิทธิผู้รับบริการ เช่น เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ เบี้ยความพิการ สิทธิผู้ป่วย เป็นต้น
    1. ความรู้เรื่องกองทุนตามพระราชบัญญัติต่างๆ ความรู้เรื่องใบประกอบวิชาชีพสภาวิชาชีพตามพระราชบัญญัติสังคมสงเคราะห์ พ.ศ.2556
    2. เงินอุดหนุนช่วยเหลือเด็กแรกเกิด
    3. ความรู้เกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ในระดับจุลภาค มหภาค จรรยาบรรร และมาตรฐานวิชาชีพ
    4. ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์แก่ผู้รับบริการทุกกลุ่มเป้าหมาย การประสานงาน เครือข่ายการช่วยเหลือสังคม และการทำงานในเชิงสหวิชาชีพ
    5. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ ได้แก่
      1. พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
      2. พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545
      3. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
      4. พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
      5. พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
      6. พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551
      7. พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560
      8. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550
      9. พระราชบัญญัติคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ.2557
      10. พระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ.2556
      11. พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559
      12. พระราชบัญญัติป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559
      13. พระราชบัญญัติป้องกันแะลปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
      14. พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 พ.ศ.2562
      15. พระราชบัญญัติหอพัก พ.ศ.2558
      16. พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
      17. พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
      18. พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ.2558

มัณฑนากรปฏิบัติการ

  1. ความรู้เกี่ยวกับงานออกแบบสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์
    1. การวางผังและการออกแบบ
    2. โครงสร้างสถาปัตยกรรมภายใน พื้น ผนัง เพดาน
    3. ความรู้ด้านวัสดุและการก่อสร้าง
    4. ความรู้ด้านระบบภายในอาคาร
    5. ไฟฟ้า แสงสว่าง
    6. ระบบปรับอากาศเบื้องต้น
    7. ระบบ CCTV เบื้องต้น ฯลฯ
  2. การออกแบบสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์
    1. ทดสอบความเข้าใจในเรื่องแนวคิด วเิเคราะห์ด้านออกแบบ
    2. วางผังการใช้สอยพื้นที่ภายในห้เกิดประโยชน์สูงสุด
    3. การใช้วัสวดุในการออกแบบ การวางผังครุภัณฑ์ การใช้สี การจัดองค์ประกอบนำเสนอรูปแบบ ผัง รูปด้าน รูปตัด แบบขยายรายละเอียด ภาพ 3 มิติ

นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการเงิน การคลัง การพัสดุ การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ ได้แก่

  1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐกิจ การเงินการคลัง และการงบประมาณ
  2. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
  3. กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
  4. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
  5. พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561
  6. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรือ่ง วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2529 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
  7. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการกำหนดประเภทรายรับ – รายจ่าย และการปฏิบัติเกี่ยวกับงบประมาณ พ.ศ.2533 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
  8. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ.2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

  1. แนวโน้มเทคโนโลยีสำหรับรัฐบาลดิจิทัล
  2. หลักคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
  3. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัล
  4. การวิเคระาห์ ออกแบบ การพัฒนา การดูแล การบำรุงรักษา และการรักษาความปลอดภัยของระบบ การบริหารจัดการฐานข้อมูล (Database Management Systems) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System) ระบบ Mobile Application ตามมาตรฐานสากล หรือแนวทางการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ตามมาตรฐานสากล
  5. การออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  6. หลักการออกแบบสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture)
  7. การบริหารจัดการโครงการ (Project Management)
  8. การนำเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการบริหารจัดการหรือให้บริการประชาชน
  9. การบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก (Deep Learning)
  10. การบริหารจัดการความเสี่ยงทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล

นักวิชาการจัดหาที่ดินปฏิบัติการ

  1. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการจัดหาที่ดิน จัดกรรมสิทธิ์ที่ดินและทรัพย์สินอย่างอื่น การกำหนดจำนวนเงินค่าทดแทนและค่าเสียหายอย่างอื่น การสอบสวนสิทธิ์ การดำเนินการเกี่ยวกับการจดทะเบียนสิทธิ์และนิติกรรม การประเมินราคาทรัพย์สินและสิทธิต่างๆ
  2. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ ได้แก่
    1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560
    2. พระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคือลแะการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ.2562
    3. กฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ การจ่ายเงินค่าทดแทน ค่าชดเชยความเสียหายอย่างอื่น
    4. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    5. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
    6. พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    7. ประมวลกฎหมายที่ดิน
    8. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
    9. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    10. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2542
    11. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
    12. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
    13. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
    14. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548

นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

  1. ความรู้เบื้องต้นด้านการบัญชี การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน การกำกับดูแลกิจการที่ดี หรือธรรมาภิบาล และการทุจริต
  2. กฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ได้แก่
    1. หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ.2561
    2. หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ.2561
    3. หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ.2562
    4. พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561
    5. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
    6. มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ.2561
    7. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่ด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงินและการตรวจเงิน พ.ศ.2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
  3. มาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน และจรรยาบรรณผู้ตรวจสอบภายใน
  4. ความรู้ด้านการบริหารจัดการองค์กร เช่น การวางแผนยุทธศาสตร์ การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารโครงการ ฯลฯ
  5. ความรู้เบื้องต้นด้านคอมพิวเตอร์และการใช้งานในหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่ง
  6.  

นักวิชาการแผนที่ปฏิบัติการ

ความรู้เกี่ยวกับวิชาการแผนที่ ได้แก่ แผนที่ ระบบพิกัดทางแผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม ข้อมูลไลดาร์ ข้อมูลความสูงของภูมิประเทศ ข้อมูลรูปแปลงที่ดิน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ เครื่องมือ-สำรวจ GNSS ข้อมูลสถิติต่างๆ การวางแผนกำหนดพื้นที่และแนวบินเพื่อจัดทำภาพถ่ายทางอากาศ Ortho การสำรวจรังวัด เพื่อสร้างหมุดหลักฐานทางแผนที่ การวางโครงข่ายสามเหลี่ยมทางอากาศ การกำหนดจุดบังคับภาพ และการปรับแก้ความคลาดเคลื่อน การอ่าน แปล และตีความจากแผนที่ และภาพถ่าย Ortho เพื่อการจัดทำแผนที่กายภาพ แผนที่เฉพาะเรื่องตามองค์ประกอบของแผนที่ กราฟ แผนภูมิ เพื่อประยุกต์ใช้ของหน่วยงานและให้บริการแก่หน่วยงานกรุงเทพมหานคร ในรูปแบบต่างๆ เช่น รูปแบบกระดาษ และรูปแบบออนไลน์ ตลอดจน การออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูล ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geodatabase Design) และคำอธิบายข้อมูล (Metadata)


นักวิชาการศูนย์เยาวชนปฏิบัติการ (ผู้นำกิจกรรมคหกรรมศาสตร์)

ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางวิชาการศูนย์เยาวชน เช่น ความรู้ด้านวิชาการ การศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การจัดโครงการฝึกอบรมด้านวิชาชีพ การส่งเสริมเยาวชนให้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ จัดกิจกรรมการสอนเพื่อจูงใจเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป เป็นต้น ด้านกิจกรรมคหกรรมศาสตร์ เช่น งานประดิษฐ์ หัตถกรรม งานดอกไม้ ใบตอง แกะสลัก อาหารและโภชนาการ งานผ้า เป็นต้น


นักวิชาการศูนย์เยาวชนปฏิบัติการ (ผู้นำกิจกรรมพลศึกษา)

  1. การสอบข้อเขียน (100 คะแนน)
    1. ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานศูนย์เยาวชนด้านกิจกรรมพลศึกษา เช่น การจัดกิจกรรมพลศึกษา กีฬาและนันทนาการ วิธีการจัดการเรียนการสอน การฝึกซ้อมและการแข่งขันกีฬา การตัดสินกีฬา การบาดเจ็บทางกีฬา การปฐมพยาบาล การจัดค่าพักแรม การจัดและนำเกมส์ เพลง เป็นต้น การศึกษา วิเคราะห์ วิจัย สำรวจข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมายผู้ใช้บริการและนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการประชาสัมพันธ์ และระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการดำเนินงานของศูนย์เยาวชนและศูนย์ส่งเสริมกีฬา พ.ศ.2530 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

    การสอบปฏิบัติ (100 คะแนน)

    ผู้ที่สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป และเข้าสอบข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งก่อน จึงมีสิทธิเข้าทดสอบปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะการเป็นผู้นำกิจกรรมทางด้านกีฬาและนันทนาการ ดังนี้

    1. วิ่ง 1,200 เมตร (ชาย) ใช้เวลา 5 นาที (25 คะแนน)
      วิ่ง 800 เมตร (หญิง) ใช้เวลา 3 นาที 30 วินาที (25 คะแนน)
    2. ว่ายน้ำ 50 เมตร (ชาย) ใช้เวลา 45 วินาที (25 คะแนน)
      ว่ายน้ำ 50 เมตร (หญิง) ใช้เวลา 50 วินาที (25 คะแนน)
    3. สาธิตการำนกิจกรรมนันทนาการ เกมส์ เพลง ใช้เวลา 10 นาที (25 คะแนน)
    4. สาธิตทักษะการสอนกีฬาใช้เวลา 10 นาที (25 คะแนน)

นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

  1. ความรู้เกี่ยวกับงานวิชาการสาธารณสุข ได้แก่ การวางแผน ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย สำรวจ รวบรวม ข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคและภัยคุกคามสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ การดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้น การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) การจัดบริการสุขภาพ การสุขศึกษา และพฤติกรรมสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพและการพัฒนางาน การบริหารงานสาธารณสุขเบื้องต้น การจัดทำแผนงานโครงการด้านสาธารณสุข การนิเทศ ติดตามประเมินผล การบริการคัดกรองตรวจวินิจฉัยการรักษาเบื้องต้น การสอบสวนโรคติดตามผู้ป่วยผู้สัมผัสโรค การจัดทำเอกสารวิชาการ สื่อสุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ การจัดทำฐานข้อมูลสาธารณสุขเพื่อสร้างความเข้าใจในการมีส่วนวร่วมของประชาชน
  2. กฎหมายและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสาธารณสุข ได้แก่
    1. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    2. พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558
    3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    4. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    5. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    6. พระราชบัญญัติป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น พ.ศ.2559
    7. พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551
    8. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    9. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
    10. พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2562
    11. พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550
    12. พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
    13. พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562
  3. ความรู้เกี่ยวกับสิทธิตามหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน ประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว และสิทธิผู้ป่วย
  4.  

วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

  1. การวางแผน การออกแบบและคำนวณด้านวิศวกรรมเครื่องกล การประเมินค่าของงาน การติดตั้ง ทดลอง ดูแลบำรุงรักษาเกี่ยวกับงานด้านวิศวกรรมเครื่องกล งานวิจัย พัฒนาและปรับปรุงงานวิศวกรรมเครื่องกล การจัดทำข้อกำหนด รายละเอียดของพัสดุ อุปกรณ์ สำหรับจัดหามาใช้งาน การจัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น สถิติ การจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล การให้คำปรึกษาแนะนำที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่กับผู้รับบริการ หรือประชาชนทั่วไป และพระราชบัยญัติวิศวกร พ.ศ.2542 ที่กำหนดกฎของความปลอดภัย เป็นต้น

วิศวกรโยธาปฏิบัติการ

  1. การออกแบบและคำนวณด้านวิศวกรรมโยธา งานศึกษาวางแผนและการวางโครงการก่อสร้าง งานสำรวจเพื่อการก่อสร้าง การทดสอบวิเคราะห์วิจัยวัสดุทางวิศวกรรม การประมาณราคา การควบคุมงานก่อสร้าง งานบำรุงรักษาบูรณะซ่อมแซม งานอำนวยความปลอดภัยในการก่อสร้าง งานผังเมองที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน งานด้านขนส่งและจราจร งานด้านสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมโยธา งานกฎหมายควบคุมอาคารเพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชาการ การให้คำปรึกษา แนะนำหรือตรวจสอบที่เกี่ยวกับงานในสาขาวิศวกรรมโยธา และโครงสร้างพื้นฐานแก่หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป

สถาปนิกปฏิบัติการ

  1. การออกแบบอาคารทางสถาปัตรยกรรมหลัก การตกแต่งภายใน การจัดองค์ประกอบของสวน การจัดพื้นที่ประโยชน์ใช้สอยภายในอาคาร การปรับปรุงซ่อมแซม และดัดแปลงอาคารให้ตรงกับความต้องากรของหน่วยงาน
  2. การออกแบบวางผังเมือง การพัฒนาเมืองและการออกแบบชุมชนเมือง โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน และสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  3. เทคโนโลยีการก่อสร้าง การเลือกใช้วัสดุ การประมาณราคา และจัดทำงบประมาณ เพื่อให้สอดคล้องตามเจตนารมณ์ของหน่วยงาน และความต้องการของผู้ใช้อาคาร โดยพิจารณาถึงความเหมาะสม คุ้มค่า ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
  4. การควบคุมงานก่อสร้างอาคาร การปรับปรุงซ๋อมแซมและดัดแปลงอาคาร เพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบ และรายการที่กำหนด โดยคำนึงถึงหลักวิศวกรรม และความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
  5. การตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบสถาปัตยกรรมหลักเบื้องต้นให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  6. ความรู้ด้านเทคโนโลยีการออกแบบ เพื่อนำเสนอผลงาน

วิธีการสมัครงานข้าราชการ กทม. ครั้งที่ 1/2563
สมัครทางอินเทอร์เน็ต

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 22 ม.ค. – 4 ก.พ. 2563 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ : 25 ก.พ. 2563

สอบวันที่: ประก่อนล่วงหน้าก่อนวันสอบไม่น้อยกว่า 7 วัน


ดาวน์โหลดไฟล์ “กทม. ครั้งที่ 1/2563

แผนที่ | ประกาศ 1 | เว็บรับสมัคร |