กรมชลประทาน เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ 14 พ.ย. -23 พ.ย. 2565 รวม 67 อัตรา,

แชร์เลย
กรมชลประทานเปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ
กรมชลประทานเปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ

กรมชลประทาน

ลิงค์: https://ehenx.com/17778/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าพนักงานธุรการ,เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์,เจ้าพนักงานการเกษตร,เจ้าพนักงานอุทกวิทยา,นายช่างชลประทาน,นายช่างโยธา,นายช่างสำรวจ,นายช่างเครื่องกล,นายช่างไฟฟ้า,นายช่างภาพ,พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา,พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง,พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก,นักประชาสัมพันธ์,นิติกร,นักวิชาการเกษตร,นักธรณีวิทยา,วิศวกรชลประทาน,วิศวกรโยธา,วิศวกรเครื่องกล,เจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์
ระดับการศึกษา: ปวช.,ปวช.ทุกสาขา,ปวช.,ปวส.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี,ไม่จำกัดคุณวุฒิ
อัตราเงินเดือน: 11,280-19,500
อัตราว่าง: 67
ปฏิบัติงานที่:
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 14 พ.ย. – 23 พ.ย. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ



กรมชลประทาน เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมชลประทาน

เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป

ด้วยกรมชลประทานประสงค์จะรับสมัครบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการ ประเภท พนักงานราชการทั่วไป ในตำแหน่งต่าง ๆ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหาและการเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้าง ของพนักงานราชการ พ.ศ. ๖๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงานและการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แกัไขเพิ่มเดิม ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๕ ลงวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๕ จึงประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

เจ้าพนักงานธุรการ

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์

อัตราว่าง : 9 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานการเกษตร

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานอุทกวิทยา

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างชลประทาน

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างโยธา

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างสำรวจ

อัตราว่าง : 6 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างเครื่องกล

อัตราว่าง : 10 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างไฟฟ้า

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*


นายช่างภาพ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11280- บาท

คุณวุฒิ : ไม่จำกัดคุณวุฒิ


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11850- บาท

คุณวุฒิ : ไม่จำกัดคุณวุฒิ


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 12410- บาท

คุณวุฒิ : ไม่จำกัดคุณวุฒิ


นักประชาสัมพันธ์

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นิติกร

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการเกษตร

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักธรณีวิทยา

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรชลประทาน

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 19500- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรโยธา

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 19500- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรเครื่องกล

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 19500- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11280- บาท

คุณวุฒิ : ปวช.

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าพนักงานธุรการ

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ทุกสาขาวิชา


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับ เดียวกันในสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ หรือสาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์


เจ้าพนักงานการเกษตร

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับ เดียวกันในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจเกษตรและสหกรณ์ สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชา เกษตรอุตสาหกรรม สาขาวิชาการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว สาขาวิชาพืชศาสตร์ สาขาวิชาช่างกลการเกษตร


เจ้าพนักงานอุทกวิทยา

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ สาขาวิชาการก่อสร้าง


นายช่างชลประทาน

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ สาขาวิชาการก่อสร้าง หรือสาขาวิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม


นายช่างโยธา

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง


นายช่างสำรวจ

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.)หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง


นายช่างเครื่องกล

ได้รับคุณวุฒิประกาศนึยบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขาวิชาเทคนิคโลหะ สาขาวิชาเขียนแบบ เครื่องกล หรือสาขาวิชาช่างกลการเกษตร


นายช่างไฟฟ้า

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ หรือสาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์


นายช่างภาพ

๑. ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งทางช่างภาพ ทางการถ่ายภาพ ทางเทคโนโลยีการถ่ายภาพและ วิดีทัศน์ หรือทางการถ่ายภาพและภาพยนตร์ หรือ
๒. ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบ ได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา และมีประสบการณ์ในการถ่ายภาพอย่างน้อย ๒ ปี (โดยต้องแนบหลักฐาน หนังสือรับรองประสบการณ์การทำงานด้านการถ่ายภาพ) หรือรางวัลที่ได้รับจากการประกวดการถ่ายภาพที่มี การรับรองจากหน่วยงานราชการ หรือหน่วยงานเอกชน


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา

ได้รับคุณวุฒิไม่ตํ่ากว่าการศึกษาภาคบังคับ และได้รับไบอนุญาตขับรถตามกฎหมาย ชนิดที่ ๒ ขึ้นไป ซึ่งมีความรู้ความสามารถ และทักษะในงานขับเครื่องจักรกล ไม่ตํ่ากว่า ๕ ปี โดยต้องแนบหนังสือรับรอง ประสบการณ์การทำงาน จากนายจ้างหรือหน่วยงานซึ่งระบุถึงลักษณะงานที่ได้ปฏิบัติเกี่ยวกับการขับเครื่องจักรกล


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง

ได้รับคุณวุฒิไม่ตำกว่าการศึกษาภาคบังคับ และได้รับใบอนุญาตขับรถตามกฎหมาย ชนิดที่ ๒ ขึ้นไป ซึ่งมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในงานขับเครื่องจักรกล ไม่ตำกว่า ๗ ปี โดยต้องแนบหนังสือรับรอง ประสบการณ์การทำงาน จากนายจ้างหรือหน่วยงานซึ่งระบุถ็งลักษณะงานที่ได้ปฏิบัติเกี่ยวกับการขับเครื่องจักรกล ตามลักษณะงานที่กำหนดอย่างใดอย่างหนึ่งมาไม่น้อยกว่า ๒ ปี ดังนี้
๑) รถแทรกเตอร์ขนาดเครื่องยนต์ ตำกว่า ๑๕๐ BHP ลงมา
๒) รถตักทุกแบบตำกว่า ๑๕๐ BHP
๓) รถกะบะเทความจุตั้งแต่ ๕ – ๑๐ ลูกบาศก์หลา
๔) รถพ่นยาง
๕) รถลากพ่วง ขนาดตั้งแต่ ๒๐ ตันขึ้นไป
๖) รถดีเส้น
๗) รถบดไอนํ้า ตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๘) รถบดสั่นสะเทือนตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๙) รถบดล้อเหล็ก ๒ ล้อ ตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๑๐) รถบดล้อเหล็ก ๓ ล้อ ตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๑๑) รถกลิ้งตีนแกะชนิดขับเคลื่อนด้วยตัวเองตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๑๒) รถบดล้อยางชนิดขับเคลื่อนด้วยตัวเองตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๑๓) รถยกแบบงาแชะเกินกว่า ๕ ตัน
๑๔) เครื่องจักรกลอื่นที่มีลักษณะเทียบเท่าตามข้อ ๑ – ๑๓


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก

ได้รับคุณวุฒิไม่ตํ่ากว่าการศึกษาภาคบังคับ และได้รับใบอนุญาตขับรถตามกฎหมาย ชนิดที่ ๒ ขึ้นไป
ซึ่งมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในงานขับเครื่องจักรกล ไม่ตํ่ากว่า ๙ ปี โดยต้องแนบหนังสือรับรอง ประสบการณ์การทำงาน จากนายจ้างหรือหน่วยงานซึ่งระบุถึงลักษณะงานที่ได้ปฏิบัติเกี่ยวกับการขับเครื่องจักรกล ตามลักษณะงานที่กำหนดอย่างใดอย่างหนึ่งมาไม่น้อยกว่า ๔ ปี ดังนี้
๑) รถแทรกเตอร์ขนาดเครื่องยนต์ตั้งแต่ ๑๕๐ BHP ขึ้นไป
๒) รถปาดดินที่ขับเคลื่อนด้วยตนเอง
๓) รถกะบะเทความจุตั้งแต่ ๑๐ ลูกบาศก์หลาขึ้นไป
๔) รถขุดดินทุกชนิด ทุกขนาด
๕) รถลาก รถพ่วง ขนาดตั้งแต่ ๒๐ ตันขึ้นไป
๖) เครื่องปูแอสฟ้ลท์ ผสมเสร็จ
๗) รถยกแบบทรัดเครน
๘) เครื่องผสมดินแบบขับเคลื่อน
๙) รถเกลี่ย ขนาดตั้งแต่ ๑๕๐ BHP ขึ้นไป
๑๐) รถตักทุกแบบขนาด ๑๕๐ BHP ขึ้นไป
๑๑) เครื่องจักรกลอื่นที่มีลักษณะเทียบเท่าตามข้อ ๑ – ๑๐


นักประชาสัมพันธ์

ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขา วิชานิเทศศาสตร์


นิติกร

ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขา วิชานิติศาสตร์


นักวิชาการเกษตร

ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไนระดับเดียวกันในสาขาวิชา เกษตรศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาเทคโนโลยีผลิตพืช สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ หรือสาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ


นักธรณีวิทยา

ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชา
วิทยาศาสตร์กายภาพ ทางฟิสิกส์ ทางธรณีวิทยา ทางธรณีศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ หรือทางเทคโนโลยี ธรณี หรือสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางเทคโนโลยีธรณี หรือทางวิศวกรรมทรัพยากรธรณี


วิศวกรชลประทาน

๑. ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันไนสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมโยธา ทางวิศวกรรมชลประทาน ทางวิศวกรรมการเกษตร ทางวิศวกรรมทรัพยากรนํ้า ทางวิศวกรรมโยธา – ทรัพยากรนํ้า ทางวิศวกรรมโยธา – ชลประทาน ทางวิศวกรรมแหล่งนํ้า และ
๒. ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด (สาขาโยธา) (ภายในวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ซึ่งเป็นวันปิดรับสมัคร)


วิศวกรโยธา

๑.ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมโยธา ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ทางวิศวกรรมสุขาภิบาล ทางวิศวกรรมชลประทาน ทางวิศวกรรมโครงสร้าง ทางวิศวกรรมโยธา – ทรัพยากรนํ้า ทางวิศวกรรมโยธา – ชลประทาน และ
๒. ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด (สาขาโยธา) (ภายในวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ซึ่งเป็นวันปิดรับสมัคร)


วิศวกรเครื่องกล

๑. ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมเครื่องกล และ
๒. ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด (สาขาเครื่องกล) (ภายในวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ซึ่งเป็นวันปิดรับสมัคร)


เจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์

(บุคคลทั่วไป)

(เฉพาะผู้พิการ)
๑. เป็นผู้พิการประเภทพิการทางการเคลื่อนไหวหรือร่างกายตามข้อ ๓ (๓) ของประกาศกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ พ.ศ. ๒๕๕๒ (แกไขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕) และมีบัตรประจำตัวคนพิการ
๒. ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาไฟฟ้ากำลัง หรือสาขาเทคนิคคอมพิวเตอร์

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เจ้าพนักงานธุรการ

ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ บริการทั่วไป หรือด้านการเงินและบัญชี หรือด้านพัสดุหรือ ด้านบุคลากร ตามแนวทาง แบบอย่างชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือ โต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวก ราบรื่น และมีหลักฐานตรวจสอบได้
๒. จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไปตาม เป้าหมายที่กำหนด
๓. รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบในการทำงบประมาณประจำปี ของหน่วยงาน
๔. ปฏิบัติงานชั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุในการจัดหา จัดซื้อ ว่าจ้าง การเก็บรักษานำล่ง การซ่อมแชม และบำรุงรักษาพัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อให้อยู่โนสภาพดีพร้อมต่อการใช้งาน
๕. ทำทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญหลักฐาน และเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
๖. ร่างและตรวจซื้อสัญญาซื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึก ย่อเรื่องเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินงาน
๗. ดำเนินงานเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไวิใช้งานและ อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
๘. ดำเนินการรวบรวมข้อมูล ทะเบียนเอกสาร ทะเบียนประวัติ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ในการด้นหางานด้านบุคคล
๙. รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงาน และข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๑๐. ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวช้องเพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์

ปฏิบัติงานด้านเครื่องคอมพิวเตอร์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการ ที่ชัดเจนภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ควบคุม ดูแล ติดตั้ง บำรุงรักษา ซ่อมแซม ตรวจสอบการทำงาน แกไขปัญหาการใช้งาน ของระบบเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ระบบเครือข่ายสื่อสาร รวมทั้งระบบสนับสนุนต่าง ๆ เพื่อให้ระบบงานต่าง ๆ สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
๒. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล ปรับปรุง ดูแล รักษาความปลอดภัย จัดเก็บสำรอง กู้คืนข้อมูล เพื่อสนับสนุนการใช้ประโยชน์ข้อมูลและป้องกันการสูญหายของข้อมูล
๓. จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
๔. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้!ขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการทั้งภายในและ
ภายนอกหน่วยงานเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
๕. ประสานงาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานเพื่อ ประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานการเกษตร

ปฏิบัติงานด้านการเกษตร ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ช่วยทำการศึกษา ด้นคว้า วิจัย ทอดลอง วิเคราะห์ ตรวจสอบ รับรองทางด้านวิชาการเกษตร เพื่อให้มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
๒. ผลิต และให้การบริการ ด้านพืช ไหม และปัจจัยการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตตามเป้าหมาย และมีคุณภาพตามมาตรฐาน
๓. ปฏิบัติการด้านวิชาการเกษตร เช่น การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายการพัฒนาที่ดิน การส่งเสริมการเกษตร การจัดการไร่นา การใช้นํ้าชลประทาน เป็นต้น เพื่อสนับสนุนงานวิชาการและเผยแพร่ ความรู้แก่เกษตรกร
๔. ช่วยวางแผน ส่งเสริมการผลิต และจัดทำโครงการสนับสนุน การผลิตของเกษตรกรเพื่อ เป็นการเพิ่มผลผลิตของเกษตรกร
๕. สาธิต แนะนำ ส่งเสริม ผีเกอบรม และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เพื่อนำความรู้โปปฏิบัติ
๖. ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ และแนวทางการแกิไขปัญหาการเกษตรเพื่อให้มี การแกัโขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานอุทกวิทยา

ปฏิบัติงานด้านอุทกวิทยา ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่าง ดังนี้
๑. สำรวจข้อมูลทางอุทกวิทยาเพื่อจัดเก็บเป็นสถิติด้านทรัพยากรนี้าไว้วิเคราะห์ทางอุทกวิทยา
๒. ประมวลและตรวจสอบข้อมูลสถิติด้านอุทกวิทยาเพื่อให้ได้ค่าที่ถูกต้องน่าเชื่อถือสามารถ ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์วิจัยได้
๓. ตรวจสอบ และรวบรวมรายงานทางด้านอุทกวิทยาในแต่ละเดือนเพื่อส่งรายงานให้กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนำไปวิเคราะห์และพยากรณ์ต่อไป
๔. ปรับปรุง ซ่อมแซม สถานีสำรวจข้อมูลด้านอุทกวิทยาและอุตุนิยมวิทยาเพื่อให้มีสภาพที่ดี และพร้อมใช้งาน
๕. ดำเนินการเสนอข้อสารสนเทศด้านอุทกวิทยาผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องนำไปวิเคราะห์และพยากรณ์ให้ทันต่อสถานการณ์
๖. ประสานงานกับหน่วยงาน หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูง
๗. บริการข้อมูลทางอุทกวิทยาแก่หน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง


นายช่างชลประทาน

ปฏิบัติงานด้านช่างชลประทาน ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่าง ดังนี้
๑. สำรวจข้อมูลเพื่อดำเนินการส่งนํ้า ระบายนํ้า การก่อสร้าง ปรับปรุงและบำรุงรักษา ระบบชลประทานให้ตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งาน และตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการทุกภาคส่วน
๒. ศึกษา ทดสอบ สภาพนํ้า เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และตรวจสอบอาคารชลประทาน เพื่อปรับปรุง และพัฒนาระบบชลประทานให้มีประสิทธิภาพ
๓. ดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรชลประทาน การมีส่วนร่วมองค์กรผู้ใช้นํ้า เพื่อให้ การชลประทานกระจายให้ทั่วถึง เพียงพอต่อการเกษตร และเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด
๔. รวบรวม จัดเก็บ สถิติข้อมูล เกี่ยวกับการชลประทาน เพื่อใช้ในการปรับปรุง พัฒนา ระบบชลประทานและการจัดการ
๕. ดำเนินการปัองกันและบรรเทาภัยจากนํ้า เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของ ราษฎรที่ประสบภัยจากนํ้า
๖. จัดทำแผนการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาแหล่งนํ้าและบริหารจัดการนํ้า ที่มีประสิทธิภาพ
๗. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับงานชลประทานที่ตน รับผิดชอบแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญ ด้านงานชลประทานแก่ผู้ที่สนใจ
๘. ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอ ความช่วยเหลือและร่วมมือในงานชลประทานพร้อมทั้งแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อ การทำงานของหน่วยงาน


นายช่างโยธา

ปฏิบัติงานด้านช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑.สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษา โครงการก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อให้ตรง ตามหลักวิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงาน และงบประมาณที่ได้รับ
๒. ตรวจสอบ แก่ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูป และรายการ เพื่อให้ การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๓. ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
๔. ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
๕. รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ในงานช่าง
๖. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และฟิกอบรมเกี่ยวกับงานโยธาที่ตนมีความรับผิดชอบ แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ ผู้ที่สนใจได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ และมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน
๗. ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอ ความช่วยเหลือและร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ของหน่วยงาน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างสำรวจ

ปฏิบัติงานด้านช่างสำรวจ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่าง ดังนี้
๑. สำรวจ รังวัด คำนวณ ตรวจสอบ จัดทำแผนที่ แผนผัง เพื่อให้ทราบรายละเอียดและ เป็นไปตามแบบที่กำหนด สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. แกไขปัญหาเบื้องต้นจากการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของ งานที่กำหนดไว้
๓. วัดระดับของภูมิประเทศ วางโครงข่ายหมุดหลักฐาน แผนที่ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงาน
๔. บันทีกข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ที่ได้จากการสำรวจ และรายงานผลเพื่อติดตาม ความก้าวหน้าของงาน
๕. กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ ที่ได้จากการสำรวจ เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มีความถูกต้อง
๖. ให้คำปรึกษา แนะนำ ทั้งในเชิงทักษะเฉพาะด้านและทักษะทั่วไปแก่บุคลากรทุกสายงาน เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๗. ติดต่อประสานกับหน่วยงานหรือเจ้าหน้าทีทีเกี่ยวข้องเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างเครื่องกล

ปฏิบัติงานด้านช่างเครื่องกล ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่าง ด้งนี้
๑. ดำเนินการตรวจสอบ บำรุงรักษา ซ่อมแซมแก้ไข ปรับปรุง เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้พร้อมใช้อยู่เสมอ
๒. ดำเนินการออกแบบ เขียนแบบเครื่องกล การผลิตชิ้นส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบ สอบเทียบเครื่องมือ ประมาณราคา เครื่องจักรกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและเหมาะสมกับการใช้งาน
๓. สำรวจ รวบรวมข้อมูล จัดทำสถิติ ประวัติการบำรุงรักษา การซ่อมเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อเป็นข้อมูลหลักฐานสำหรับนำไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงงาน
๔. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในภายนอกส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การ ปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
๕. ให้คำแนะนำและบริการแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจใน
การทำงาน


นายช่างไฟฟ้า

ปฏิบัติงานด้านช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่าง ดังนี้
๑. สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุงควบคุมการใช้งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ คอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและ มีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของหน่วยงานภายในและภายนอก
๒. จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผน บำรุงรักษา
๓. ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการออกใบรับรองตามที่หน่วยงาน หรือกฎหมายกำหนด
๔. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการทั้งภายในและ ภายนอกหน่วยงานเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
๕. ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานเพื่อ ประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ


นายช่างภาพ

ปฏิบัติงานด้านช่างภาพ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ถ่ายภาพ ถ่ายวีดีทัศน์ บันทึกภาพยนตร์ ในเรื่องต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมาย เพื่อการ ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
๒. ตกแต่ง ตัดต่อลำดับภาพบันทึกเสียงรวมถึงการปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ฟิล์มภาพยนตร์เพื่อให้ผลงานเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้
๓. ปฏิบัติงานในเรื่องล้าง-อัดภาพและตรวจสอบความลูกต้องของภาพถ่าย ที่ถ่ายมาได้ เพื่อให้ได้มาซึ่งภาพถ่ายที่คมชัดและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานต่อไป
๔. ปฏิบัติงานต่าง ๆ ทีเกี่ยวกับไมโครฟิล์ม เช่น ให้เลขรหัส บันทึกเอกสารลง ในไมโครฟิล์ม รวมทั้งตรวจสอบและจัดเก็บ และจัดส่งไมโครฟิล์มให้บริษัทเอกชนที่รับจ้างล้าง เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๕ จัดหมวดหมู่เก็บรักษาและควบคุมการเบิกจ่ายฟิล์มหรือเอกสารแผนที่ต่างๆ เพื่อให้การปฏิบัติดำเนินไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว
๖. ถ่ายภาพต่าง ๆ เพื่อประกอบการวิเคราะห์ วิจัยผลงานทางวิชาการ ทำแบบพิมพ์ต่าง ๆ
๓!. ให้บริการสำเนาภาพถ่าย วีดีทัศน์ ภาพยนตร์ และไมโครฟิล์ม
๘. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การปฏิบัติงานสำเร็จลุล่วง ไปด้วยดี และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา

ปฏิบัติงานขั้นต้นในการขับเครื่องจักรกลขนาดเบา ตลอดจนบำรุงรักษาและแก้ไขข้อขัดซ้อง เล็ก ๆ น้อย ๆ ของเครื่องจักรกลขนาดเบา และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง

ปฏิบัติงานขั้นต้นในการขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง ตลอดจนบำรุงรักษาและดูแลแก้ไข ข้อขัดข้องเล็ก ๆ น้อย ๆ ของเครื่องจักรกลขนาดกลาง และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก

ปฏิบัติงานขั้นต้นในการขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก ตลอดจนบำรุงรักษา และแกไขข้อขัดข้อง ที่เกิดขึ้นของเครื่องจักรกลขนาดหนัก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย


นักประชาสัมพันธ์

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้นที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงานปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ภายใต้การกำกับแนะนำตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
๑. จัดกิจกรรมตามโครงการประชาสัมพันธ์ทั้งในและต่างประเทศโดยประสานงาน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดำเนินงานประชาสัมพันธ์บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย
๒. สำรวจความคิดเห็นของประชาชนและรวบรวมข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ และสรุปผล เพื่อเป็นข้อมูลในการดำเนินการประชาสัมพันธ์
๓. ศึกษาค้นคว้าวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประกอบการวิจัยวางแผนการประชาสัมพันธ์และ ติดตามผล
๔. จัดทำเอกสารและผลิตบทความเพื่อการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
๕. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี๋ที่กำหนด
๖. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อ ให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ๋ตามที่กำหนด
๗. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลข้อเท็จจริงแก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๘. ให้บริการข้อมูลการประชาสัมพันธ์แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เกิด ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องตรงตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น


นิติกร

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน เกี่ยวกับงานนิติการ ภายใต้การกำกับแนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับบัญชาในการตอบข้อหารือ หรือวินิจฉัยปัญหากฎหมาย เกี่ยวกับระเบียบของทางราชการที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของหน่วยงานเพื่อเป็นข้อมูลสนับสบุนการพิจารณา ของผู้บังคับบัญชา
๒. ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยเพื่อปรับปรุงกฎหมาย และระเบียบเกี่ยวกับหน่วยงาน ที่รับผิดชอบเพื่อให้ทันกับสถานการณ์และอำนวยความสะดวกในการทำงาน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสม และเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย
๓. ศึกษาข้อมูล รวบรวมแสวงหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย เสนอความเห็น ในการดำเนินการเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับวินัยข้าราชการ การร้องทุกข์ การพิทักษ์ระบบคุณธรรม รวมถึง การดำเนินการใด ๆ ตามกฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการและการดำเนินคดีของหน่วยงาน
๔. ปฏิบัติงานฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการด้านกฎหมายเพื่อจัดประชุมเสนอความเห็น จัดทำระเบียบวาระ และรายงานการประชุม
๕. ให้คำแนะนำด้านกฎหมายแก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจ ในข้อกฎหมายที่เป็นปัญหา และให้ความรู้ถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องเป็นประโยชน์กับการดำเนินงานของบุคคล หรือหน่วยงานดังกล่าว


นักวิชาการเกษตร

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเกษตร ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๑. ศึกษา พัฒนา ระบบการควบคุม การผลิต การจำหน่าย การนำเช้า การส่งออกพืช พันธุพืช ปุย วัตถุมีพิษ ยาง รวมทั้งศึกษา พัฒนาระบบการคุ้มครองพันธุพืช และการค้าพืชตามอนุสัญญา เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย
๒. ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาด้านพืชเกี่ยวกับการอนุรักษ์ด้านพถุกษศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ การปรับปรุงพันธุ การขยายพันธุ วิทยากากรด้านพันธุ การเขตกรรม การอารักขางาน วิทยาการก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งงานด้านการผลิต สารบำรุงพืช และอื่น ๆ เพื่อให้ได้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการเกษตร และช่วยพัฒนาผลผลิตให้ได้มาตรฐาน และปลอดภัย ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค รวมทั้งผลกระทบของภูมิอากาศต่อการเกษตร
๓. ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับดิน นํ้า และการชลประทาน ปุย วัตถุมีพิษการเกษตร เพื่อเพิ่มผลผลิตพืชและปรับปรุงดินให้มีคุณภาพ
๔. ศึกษา วิเคราะห์ สถานการณ์การผลิต การตลาดของพืช สินค้าเกษตร และสินค้าเกษตร แปรรูป เช่น ปริมาณการผลิต การตลาด ราคาผลผลิต ภัยธรรมชาติ ศัตรูพืช และประเทศคู่แช่ง เป็นต้น เพื่อวางแผนและแนะนำการผลิต และการส่งเสริมให้เกษตรกร ผู้ประกอบการ สามารถผลิตให้ได้มาตรฐาน คุณภาพสินค้าเกษตร
๕. ศึกษา ทดสอบ วิเคราะห์ และวิจัยเกี่ยวกับงานพัฒนาที่ดินด้านการอนุรักษ์ดินและนํ้า การปรับปรุงบำรุงดิน การแก้ไขดินที่มีปัญหา การิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินและการางแผนการใช้ที่ดินเพื่อ การพัฒนาที่ดิน
๖. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และพัฒนาด้านหม่อนไหม เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานสากล อนุรักษ์คุ้มครองหม่อนไหมและไม้ย้อมสี ตลอดจนพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น และตรวจสอบหลักฐานการผลิต ผ้าไหม เพื่อการออกใบรับรองตามมาตรฐาน รวมทั้งตรวจสอบเพื่อการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์หม่อนและไหม
๗. ส่งเสริมและสนับสนุนในการให้บริการวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านการเกษตรและ ปัจจัยการผลิต และภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้งด้านพืชและไหม ตลอดจนการผีเกอบรมและสาธิตเพื่อให้เกษตรกร และผู้ที่เกี่ยวข้องได้นำไปใช้ประโยชน์
๘. ให้บริการด้านวิชาการทางการเกษตร เกี่ยวกับการวินิจฉัย ตรวจสอบ วิเคราะห์ปัจจัยการผลิต โรคแมลงศัตรูพืช วัชพืช การตรวจสอบรับรองผลิตผล ผลิตภัณฑ์พืช และการเตือนภัยการระบาดของโรคแมลง ศัตรูพืช เพื่อการป้องกันกำจัดที่เหมาะสม
๙. วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ๋ที่กำหนด
๑๐. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
๑๑. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๑๒. รวบรวม จัดทำข้อมูล การจัดทำรายงานเกี่ยวกับสารสนเทศทางการเกษตร เพื่อใช้ในการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และให้บริการข้อมูลแก่ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และผู้เกี่ยวข้อง
๑๓. ให้คำปรึกษา แนะนำ จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการเกษตรแก่หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เกษตรกร ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไป เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ปฏิบัติให้เกิดประโยชน์
๑๔. ให้คำปรึกษา แนะนำ ในงานด้านวิชาการแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้สามารถ ตำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นักธรณีวิทยา

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านธรณีวิทยา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ช่วยปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสำรวจ ศึกษา วิจัย ทางธรณีวิทยาทั่วไปในด้านธรณีวิทยา
รากฐาน ธรณีวิทยาแหล่งแร่ ธรณีฟิสิกส์ ธรณีเคมี ธรณีวิทยาเชื้อเพลิงธรรมชาติ วิศวกรรมธรณีวิทยา ปฐพีและ ธรณีวิทยา ธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม และอุทกธรณีวิทยา เพื่อจัดทำรายงานผลการสำรวจเบื้องต้น จัดเก็บข้อมูล ในระบบฐานข้อมูล จัดทำแผนที่ทางธรณีวิทยาและใช้ประกอบการตัดสินใจวางแผนบริหารจัดการทรัพยากร ธรณี
๒. ช่วยปฏิบัติงานเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาคุณภาพทรัพยากรธรณี เช่น
แร่และหิน ปิโตรเลียม ถ่านหิน นํ้าบาดาล เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ทั้งการอุปโภคบริโภค รวมถึงเป็น วัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมพื้นฐานต่าง ๆ
๓. ศึกษา รวบรวม และประมวลผลข้อมูลสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรณี เพื่อการสงวน
อนุรักษ์ ฟินฟูและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรณี รวมถึงการกำหนดขอบเชตพื้นที่เสี่ยงภัยและการวางแผน มาตรการป้องกันเฝืาระวังภัย
๔. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลส้มฤทธิ้ตามที่กำหนด
๕. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๖. ให้คำแนะนำปรึกษาในเบื้องต้นและเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการด้านธรณีวิทยาและอุทก ธรณีวิทยา แก่หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพ
๗. ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำเอกสาร ตำรา คู่มือ ลื่อ เอกสารเผยแพรในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้ และการทำความเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ด้านธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยา

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ


วิศวกรชลประทาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวิศวกรรมชลประทาน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ศึกษาพื้นที่ พิจารณาโครงการ สำรวจ ออกแบบงานชลประทาน ประมาณราคา ก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษา ระบบชลประทาน เขื่อน ฝาย อาคารชลประทานประกอบอื่น ๆ จัดสรรนี้า เพื่อให้ได้งานชลประทานที่มีคุณภาพตามวัตถุประสงค์การใช้งาน และตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ
๒. ศึกษาทดสอบ วิเคราะห์ และวิจัย สภาพนํ้า เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์เทคโนโลยี การจัดการนํ้า บำรุงรักษา ระบบชลประทาน และการก่อสร้างเพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบประทานให้ มีประสิทธิภาพ
๓. ดำเนินการส่งเสริมการพัฒนาด้านการชลประทานและการมีส่วนร่วมขององค์กร ผู้ใช้นํ้าในพื้นที่โครงการชลประทานและลุ่มนํ้าเพื่อให้มีนํ้าใช้อย่างพอเพียง
๔. รวบรวมข้อมูลสถิติเกี่ยวกับงานชลประทาน หรือจัดทำฐานข้อมูล หรือระบบ สารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมชลประทานเพื่อให้สอดคล้องและสนับสบุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์มาตรการต่าง ๆ
๕. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจงเกี่ยวกับงานวิศวกรรมชลประทานในความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและ ความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์


วิศวกรโยธา

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานวิศวกรรมโยธา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. สำรวจ ศึกษา วางแผน วิเคราะห์ วิจัย ออกแบบคำนวณ ประมาณราคา ควบคุมงาน ก่อสร้าง งานบำรุง งานบูรณะซ่อมแซม งานอำนวยความปลอดภัย งานผังเมือง หรืองานอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับ วิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐานเพื่อให้เป็นตามหลักวิชาการ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
๒. ตรวจสอบแบบแปลน โครงสร้าง สภาพการใช้งานของอาคารหรือโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
๓. ควบคุม ดูแลการปฏิบัติงานสำรวจ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ได้รูปแบบ แผนที่ต่าง ๆ ให้ถูกต้อง
๔. ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกำหนดกฎ ระเบียบ มาตรฐาน มาตรการที่เกี่ยวข้องกับ วิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน
๕. ศึกษา วิจัย และทดสอบวัสดุ ที่ใช้ในงานด้านวิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้ มีความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย และประหยัดงบประมาณ
๖. ตรวจสอบสัญญาก่อสร้าง บำรุง บูรณะซ่อมแซมและอำนวยความปลอดภัยรวมถึง การแก้ไขสัญญางานวิศวกรรมโยธา เพื่อให้งานมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานและข้อกำหนด
๓!. จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง จัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับงาน วิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐานให้สอดคล้องและสนับสบุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการ พิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรฐานต่าง ๆ
๘. ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหา และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงานวิศวกรรมโยธา และโครงสร้างพื้นฐานในความรับผิดชอบในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อให้ได้ข้อมูลความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ รวมทั้งการมีส่วนร่วม


วิศวกรเครื่องกล

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวิศวกรรมเครื่องกล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. วางโครงการ ออกแบบ คำนวณ ควบคุมการสร้างหรือการผลิต อำนวยการใช้กำหนด มาตรฐาน ประเมินราคา ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบ หรือซ่อมบำรุง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนด
๒. ศึกษา วิจัย พัฒนา และปรับปรุงงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้งานมีคุณภาพและ มีมาตรฐานดี
๓. รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลเกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้งาน มีคุณภาพและประสิทธิภาพดี
๔. จัดทำข้อกำหนดและรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Specifications) เกี่ยวกับงาน วิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน
๕. จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบ สารสนเทศที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ
๖. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินตามที่ได้รับมอบหมาย


เจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์

(บุคคลทั่วไป)

(เฉพาะผู้พิการ)

ปฏิบัติงานด้านเครื่องคอมพิวเตอร์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการ ที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ควบคุม ดูแล ติดตั้ง บำรุงรักษา ซ่อมแซม ตรวจสอบการทำงาน แกไขปัญหาการใช้งาน ของระบบเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ระบบเครือข่ายสื่อสาร รวมทั้งระบบสนับสบุนต่าง ๆ เพื่อให้ ระบบงานต่าง ๆ สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

๒. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล ปรับปรุง ดูแล รักษาความปลอดภัยจัดเก็บสำรอง กู้คืนข้อมูล เพื่อสนับสบุนการใช้ประโยชน์ข้อมูลและป้องกันการสูญหายของข้อมูล
๓. จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
๓. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก่ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการทั้งภายในและ ภายนอกหน่วยงานเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
๔. ประสานงาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานเพื่อ ประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ
๖. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย
สิทธิประโยชน์ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง สิทธิประโยชน์ของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ และประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง ค่าตอบแทนพนักงานราชการ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๑ (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๕
ระยะเวลาการจ้าง ประมาณเดือนเมษายน ๒๕๖๖ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ (มีการประเมินผล การปฏิบัติงานปีละ๒รอบ) และอาจจะมีการต่อระยะเวลาการจ้างได้อีกไม่เกินครั้งละ ๔ปี ในกรณีที่ กรมชลประทานได้รับการอนุมัติจัดสรรกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ รอบระยะ ๔ ปี จากคณะกรรมการ บริหารพนักงานราชการ (คพร.) และพนักงานราชการผู้นั้นผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ (คพร.) กำหนด
สถานที่ปฏิบัติงาน ผู้ได้รับการขึ้นบัญชีผู้ผ่านการเลือกสรรและได้รับการเรียกรายงานตัว เพื่อจัดทำสัญญาจ้างเป็นพนักงานราชการแล้ว จะได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในสังกัดต่าง ๆ ดังนี้
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ส่วนกลาง / กรุงเทพมหานคร และจังหวัดนนทบุรี)    เจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์  จำนวน  ๓ อัตรา

วิชาที่สอบ

เจ้าพนักงานธุรการ

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ โดยวิธีสอบ ข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เกี่ยวกับงานสารบรรณ งานธุรการ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานบุคคล และระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยวิธีสอบข้อเขียน ในเนี้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ระบบ เครือข่าย และพระราชบัญณู้ติการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เข่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


เจ้าพนักงานการเกษตร

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานการเกษตร โดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้ด้านการเกษตรทั่วไป การใช้พื้นที่ทางการเกษตร การขยายพันธุและการปรับปรุงพันธุพืช เครื่องจักรเครื่องมือทางการเกษตร การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทางการเกษตร
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในต้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


เจ้าพนักงานอุทกวิทยา

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐0 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานอุทกวิทยา โดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้พื้นฐานทางอุทกวิทยา ได้แก่ ระบบลุ่มนํ้า ะ วัฏจักรนํ้า, ลักษณะภูมิกายภาพ การวัดนํ้า : เครื่องมือ, วิธีวัด และความรู้พื้นฐานทางโยธา ได้แก่ การบำรุงรักษาสถานีวัดนํ้า การรังวัดในงานสำรวจและแผนที่ การบริหารการจัดการก่อสร้าง และกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑0๐ คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


นายช่างชลประทาน

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างชลประทาน โดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย
ความรู้เกี่ยวกับการเขียนแบบวิศวกรรม การเขียนแบบวิศวกรรมด้วยคอมพิวเตอร์ การสำรวจทางวิศวกรรม การออกแบบโครงสร้างไม้ โครงสร้างเหล็ก คอนกรีตเสริมเหล็กและอาคารชลประทาน การออกแบบระบบส่งนื้าและระบายนํ้า การประมาณราคา วัสดุทางด้านวิศวกรรมและการทดสอบ การวางแผน และควบคุมงานก่อสร้าง การบริหารจัดการนํ้าและหลักอุทกวิทยาเบื้องต้น หลักการชลประทานเบื้องต้น หลักการทางชลศาสตร์เบื้องต้น กระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานชลประทาน การพิจารณาโครงการ การศึกษาด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม การจัดหาที่ดินเพื่อการชลประทาน และการขออนุญาตใช้พื้นที่ก่อสร้าง
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


นายช่างโยธา

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างโยธา โดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย การวิเคราะห์โครงสร้างเบื้องต้น การเขียนแบบวิศวกรรม การเขียนแบบวิศวกรรมด้วยคอมพิวเตอร์ การออกแบบและคำนวณโครงสร้างไม้และโครงสร้างเหล็ก และ คอนกรีตเสริมเหล็ก วัสดุทางด้านวิศวกรรมและการทดสอบ การสำรวจเพื่อการก่อสร้าง การวิเคราะห์และ ประมาณราคางานก่อสร้าง การวางแผนและควบคุมงานก่อสร้าง การบริหารงานโครงการก่อสร้าง
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


นายช่างสำรวจ

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างสำรวจ โดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เกี่ยวกับช่างสำรวจ ได้แก่ การวัดมุม วัดระยะ วัดระดับ ลักษณะและขนาดชองภูมิประเทศ การหาค่าพิกัดของจุดตำแหน่งต่าง ๆ และการวางหมุดหลักฐาน หรือที่หมาย ในการสำรวจ และความรู้ด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ด้านสำรวจ ตลอดจนสามารถใช้โปรแกรมเขียนแบบได้ เช่น Auto CAD หรือโปรแกรมสเปรคชีต เช่น Excel คำนวณงานสำรวจได้
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
สอบปฏิบัติ
ทดสอบปฏิบัติการตั้งกล้องวัดมุม การอ่านค่า การคำนวณด้วยมือ การอ่านค่าระดับและ คำนวณ การตรวจสอบกล้อง
สอบสัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของดำแหน่ง


นายช่างเครื่องกล

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างเครื่องกล โดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย หลักการทำงานของเครื่องยนต์ การซ่อมบำรุงรักษา เครื่องจักรและยานพาหนะ หลักการทำงานของเครื่องสูบนํ้า และไฟฟ้าเบื้องต้น
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


นายช่างไฟฟ้า

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างไฟฟ้า โดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานติดตั้ง ประกอบ ดัดแปลง ปรับปรุงบำรุงรักษา เครื่องมือ เครื่องใช้เกี่ยวกับไฟฟ้า
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


นายช่างภาพ

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะ ตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม boo คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างภาพ โดยวิธีสอบข้อเขียน ความรู้ทางการถ่ายภาพ การถ่ายวีดีทัศน์ การใช้เครื่องมือ อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ ความรู้ เกี่ยวกับนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการถ่ายภาพและ การถ่ายวีดีทัศน์
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
สอบปฏิบัติ
ด) การถ่ายภาพนิ่งเพื่อการประชาสัมพันธ์
๒) การถ่ายวีดีทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ ระยะเวลา ๑๐ นาที
๓) การตัดต่อสารคดี ลำดับภาพ การบันทึกเสียง ระยะเวลา ๕ นาที
สอบสัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และ บุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งพนักงาน ขับเครื่องจักรกลขนาดเบา ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. ๒๕๒๒ และความรู้ เกี่ยวกับการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะรวมถึงการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
สอบปฏิบัติ
ทดสอบการขับเครื่องจักรกลขนาดเบา เช่น รถบรรทุก ๖ ล้อ ๖ ตัน รถขุดขนาดเล็กรถตักดิน หรือเครื่องจักรกลเบาชนิดอื่น ๆ ที่มีใช้ในกรมชลประทาน เป็นต้น
สอบสัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท,วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
©. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งพนักงาน ขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เนื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติ รถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. ๒๕๒๒ และ ความรู้เกี่ยวกับการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะรวมถึงการแกไขปัญหาเบื้องต้น
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ©๐0 คะแนน)
สอบปฏิบัติ
ทดสอบการขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง เช่น รถลากพ่วงขนาดตั้งแต่ ๒๐ ตันลงมา รถกระบะเทความจุตั้งแต่ ๕ – ๑๐ ลูกบาศก์หลา หรือเครื่องจักรกลกลางชนิดอื่น ๆ ที่มีใช้ในกรมชลประทาน เป็นต้น
สอบสัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกียวกับงานในตำแหน่งพนักงาน ขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. ๒๕๒๒ และความรู้ เกี่ยวกับการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะรวมถึงการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
สอบปฏิบัติ
ทดสอบการขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก เช่น รถลากรถพ่วงขนาดตั้งแต่ ๒๐ ตันขึ้นไป รถขุดดินทุกชนิดทุกขนาด หรือเครื่องจักรกลหนักชนิดอื่น ๆ ที่มีใฃ้ในกรมชลประทาน เป็นต้น
สอบสัมภาษณ์
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


นักประชาสัมพันธ์

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะ ตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่ง นักประชาสัมพันธ์ โดยวิธีสอบข้อเขียน เกี่ยวกับการวางแผนโฆษณาประชาสัมพันธ์ การเขียนโครงการ ประชาสัมพันธ์ การเขียนเพื่อประชาสัมพันธ์ การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ในรูปแบบและช่องทางต่าง ๆ ตลอดจนการผลิตลื่อและเผยแพร่ New Media การประเมินผลการประชาสัมพันธ์
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเช้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพ อย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


นิติกร

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะ ตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนิติกร โดยวิธี สอบข้อเขียน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีในศาล ปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๕
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ พ่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพ อย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


นักวิชาการเกษตร

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิชาการเกษตร โดยวิธีสอบข้อเขียน ความรู้พื้นฐาน การศึกษา ทดลอง วิเคราะห์วิจัยเกี่ยวกับการเกษตร
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


นักธรณีวิทยา

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักธรณีวิทยา โดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้พื้นฐานด้านธรณีวิทยา ได้แก่ สภาพธรณีวิทยา ประเทศไทย สภาพธรณีสัณฐานของประเทศไทย โครงสร้างทางธรณีวิทยาที่สำคัญของประเทศไทย และการบรรยาย ชนิดหินทางธรณีวิทยา (Rock description) และความรู้ด้านธรณีวิทยาในงานชลประทาน ได้แก่ การสำรวจ ธรณีวิทยาฐานรากเขื่อน การสำรวจธรณีฟิสิกส์ในงานฐานรากเขื่อน การปรับปรุงฐานรากเขื่อน และการสำรวจ แหล่งวัสดุก่อสร้างสำหรับงานเขื่อน
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นชองตำแหน่ง


วิศวกรชลประทาน

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะ ตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
ด. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งวิศวกร ชลประทาน โดยวิธีสอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย วิชาหลักการชลประทาน และงาน วางแผนและโครงการ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างดิน นํ้า พืช การหาปริมาณการใช้นํ้าของพืช การกำหนดการ ให้นํ้าแก่พืช ประสิทธิภาพการชลประทาน การออกแบบระบบชลประทาน ความสำคัญของการวางโครงการ การวิเคราะห์ความเหมาะสมชองโครงการด้านต่าง ๆ การศึกษาผลกระทบของโครงการด้านต่าง ๆ การ ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรมชลประทาน งานหลักอุทกวิทยา และงานวิศวกรรมชลศาสตร์ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างนํ้าฝน และนํ้าท่า การวิเคราะห์และออกแบบทางอุทกวิทยา การตรวจวัดทางอุทกวิทยา การไหลในท่อ การออกแบบอาคารทางชลศาสตร์ การระบายนํ้า
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพ อย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


วิศวกรโยธา

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งวิศวกรโยธา โดยวิธีการ สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ทฤษฎีการวิเคราะห์โครงสร้าง การออกแบบโครงสร้าง คอนกรีตเสริมเหล็ก การเขียนแบบวิศวกรรมและการเขียนแบบวิศวกรรมด้วยคอมพิวเตอร์ การออกแบบและ คำนวณโครงสร้างไม้และโครงสร้างเหล็ก วัสดุทางด้านวิศวกรรมโยธา และการทดสอบออกแบบฐานรากและ กำแพงกันดิน การสำรวจทางด้านวิศวกรรม กลศาสตร์ของดินด้านวิศวกรรม การวิเคราะห์และประมาณราคา งานก่อสร้าง การวางแผนและบริหารงานก่อสร้าง วิศวกรรมชลศาสตร์และการไหลในทางนื้าเปิด การพิจารณา โครงการและการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในงานวิศวกรรม วิศวกรรมการทาง วิศวกรรมสุขาภิบาลและการประปา
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐0 คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้ วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ พ่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัว เข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


วิศวกรเครื่องกล

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะ ตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งวิศวกรเครื่องกล โดยวิธีสอบข้อเขียน ในเนี้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล ได้แก่ กลศาสตร์ของของไหล วัสดุวิศวกรรม การออกแบบเครื่องจักรกล การปรับอากาศและการระบายความร้อน ระบบสูบนํ้าและระบายนํ้า ระบบปรับอากาศ ระบบยานยนต์
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และ บุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น รวมถึงสมรรถนะที่จำเป็นของตำแหน่ง


เจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์

วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมชลประทาน  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 14 พ.ย. – 23 พ.ย. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัครกรมชลประทาน

ประกาศรับสมัคร file 1 | file 2 | เว็บรับสมัคร