กรมพัฒนาที่ดิน เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ บัดนี้-25 มี.ค. 2565

แชร์เลย

กรมพัฒนาที่ดินเปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ

กรมพัฒนาที่ดิน

ลิงค์: https://ehenx.com/16537/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าหน้าที่แผนที่ภาพถ่าย,นักวิชาการเกษตร
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 18,000-
อัตราว่าง: 3
ปฏิบัติงานที่: พังงา,ระนอง (สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11)
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 25 มี.ค. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมพัฒนาที่ดิน เปิดรับสมัคร

ประกาศสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11

เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป

ด้วยกรมพัฒนาที่ดิน ได้มอบหมายให้สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต ๑๑ ดำเนินการสรรหาและ เลือกสรรบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการประเภททั่วไป ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามประกาศ คณะกรรมการ บริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการสรรหาและเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบ สัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ.๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ และประกาศคณะกรรมการบริหาร พนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงานและการจัดกรอบอัตรากำลัง พนักงานราชการ ล-!วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ จึงประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรร โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

เจ้าหน้าที่แผนที่ภาพถ่าย

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการเกษตร

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าหน้าที่แผนที่ภาพถ่าย

ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมโยธา ทางวิศวกรรมสำรวจ หรือสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางภูมิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์กายภาพ ทางภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ ทางภูมิสารสนเทศศาสตร์ ทางภูมิสารสนเทศ ทางภูมิศาสตร์พัฒนาเพื่อการชัดการทรัพยากร ทางเทคโนโลยี ภูมิศาสตร์ ทางเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ทางภูมิสารสนเทศสิ่งแวดล้อม ทางสารสนเทศภูมิศาสตร์


นักวิชาการเกษตร

คุณวุฒิปริญญาตรี ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ทางการชัดการทรัพยากรดิน ทางปฐพีศาสตร์ ทางปฐพีวิทยา ทางปฐพีศาสตร์และอนุรักษ์ศาสตร์ ทางปฐพีศาสตร์และการชัดการทรัพยากรธรรมชาติ ทางปฐพี ศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ทางพืชไร่นา ทางพืชไร่ ทางพืชศาสตร์ ทางพืชสวน ทางการผลิตพืช ทางส่งเสริม การเกษตร ทางส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร ทางวิทยาศาสตร์เกษตร ทางวิทยาศาสตร์การเกษตร ทางเทคโนโลยีการผลิตพืช ทางเทคโนโลยีการเกษตร ทางเคมีการเกษตร หรือสาชาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ และสาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เจ้าหน้าที่แผนที่ภาพถ่าย

ปฏิบัติงาบอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ร่วมศึกษาวิเคราะห์วิจัยและปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีการสำรวจการทำแผนที่และการผลิตข้อมูล ภูมิสารสนเทศ
๒. ตรวจสอบและถ่ายทอดแนวเชตป่าไม้ถาวรตามมติ ครม.
๓. จัดทำแผนที่การจำแนกประเภทที่ดินฉบับปรับปรุง
๔. ปรับปรุงแผนที่การจำแนกประเภทที่ดินในระบบดิจิตอล
๕. จัดเตรียมจัดเก็บและให้บริการข้อมูลแผนที่ต้นฉบับ
๖. นำเข้าตรวจสอบแก้ไขประสานงานข้อมูลแนวเชตป่าไม้ถาวรข้อมูลแผนที่ลายเส้นในระบบ คอมพิวเตอร์
๗. จัดทำแผนที่แนวหลักเขตป่าไม้ถาวรบนภาพออร์โธลิมาตราส่วน ๑ ะ ๔,๐๐๐ ๑ : ๒๕,๐๐๐
๘. ร่วมจัดทำรวบรวมข้อมูล (Meta Data) ด้านภาพถ่ายทางอากาศภาพถ่ายดาวเทียมและแฟ้มข้อมูล แผนที่ทุกประเภทเพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับบริการหน่วยงานต่างๆของกรมและกระทรวงเกษตร และสหกรณ์
๙. ร่วมจัดทำมาตรฐานข้อมูลด้านภูมิสารสนเทศและร่วมจัดเก็บรวบรวมและปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ ด้านภูมิศาสตร์ให้เป็นปัจจุบัน
๑๐. ร่วมพัฒนาเทคโนโลยีและโปรแกรมการใช้งานด้านภูมิสารสนเทศ
๑๑. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย


นักวิชาการเกษตร

ปฏีบ้ดิงานอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ศึกษา ด้นคว้า วิจัย และทดสอบหาวิธีหรือเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการปรับปรุงบำรุงดิน รวมถึงการ อนุรักษ์ดินและนํ้าด้วยมาตรการต่างๆ แกไขพื้นที่ดินที่มีปัญหา เช่น ดินเปรี้ยวจัด ดินกรด ดินอินทรีย์ ดินเค็ม ดินทราย ดินลูกรัง ดินที่สูง พื้นที่ลาดชัน พื้นที่ในเชตชลประทาน พื้นที่นานอก เขตชลประทาน ดินที่ถูกชะล้างพังทลาย โดยตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
๒. ศึกษา วิจัยและพัฒนา ด้านชนิดและพันธุพืชใหม่ รวมถึงชนิดและอัตราชองวัสดุปรับปรุงดินเพื่อ นำมาปรับปรุงบำรุงดิน และการอนุรักษ์ดินและนํ้าให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และข้อจำกัด เพื่อ เผยแพร่ให้กับเกษตรกรและผู้สนใจ ติดตามความก้าวหน้าระบบ IT
๓. รวบรวมข้อมูลวัสดุการเกษตร ศึกษา วิจัยการใช้ที่ดิน ในระบบผลิตพืชอินทรีย์ตามนโยบายของ รัฐบาลเพื่อให้เป็นอาหารที่ปลอดภัยจากสารพิษตกด้าง
๔. รวบรวมสถิติและข้อมูลต่างๆ รวมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับงานวิจัย เพื่อใช้ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์และวิจัยเกี่ยวกับงานวิชาการเกษตรด้านความสัมพันธ์ ดิน นํ้า พืช
๕. ตรวจสอบวิเคราะห์ช้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับงานวิจัยเพื่อใช้ศึกษาค้นคว้าทดลอง วิเคราะห์วิจัย เกี่ยวกับงานวิชาการเกษตรจัดทำข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และการรวบรวมข้อมูล พื้นฐานโดยใช้คอมพิวเตอร์
๖. ตรวจสอบวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น เพื่อใช้ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง เกี่ยวกับงานวิชาการเกษตร
๓!. เตรียมตัวอย่างหญ้าแฝก การวิเคราะห์สายพันธุทางด้าน DNA และการตรวจสอบและวิเคราะห์ DNA
๘. ปฏีบ้ติงานวิเคราะห์วิจัยเกี่ยวกับเมล็ด การเจริญเติบโต และความงอกของหญ้าแฝก
๙. ปฏิบัติงานวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและนํ้าในพื้นที่ ภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งจัดทำข้อมูลระบบเผยแพร่บน web site
๑๐. การถ่ายทอดเทคโนโลยี วางแผนการอนุรักษ์ดินและนํ้า แกไขปรับปรุงดินที่มีปัญหาการใช้ ประโยชน์ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต และสถานีพัฒนาที่ดินต่างๆ ในการจัดทำหมู่บ้าน พัฒนาที่ดิน และโครงการพัฒนาที่ดินอื่นๆ
๑๑. จัดทำแผนงานและติดตามผลการปฏิบัติงานของโครงการต่างๆ
๑๒. ตรวจสอบวิเคราะห์ข้อมูลดินเพื่อใช้ศึกษาค้นคว้าทดลองวิเคราะห์วิจัยเกี่ยวกับงานวิชาการใน ด้านต่างๆ
๑๓. รวบรวมสถิติและข้อมูลต่างๆรวมทั้งวิเคราะห์ขอมูลฟ้องต้นเกี่ยวกับงานวิจัยเพื่อใช้ศึกษา ทดลองด้นคว้าวิเคราะห์วิจัยเกี่ยวก็บงานวิชาการเกษตรด้านความสัมพันธ์นํ้า พืช
๑๔. จัดทำฐานข้อมูลเพื่อเผยแพร่ผลงานและถ่ายทอดเทคโนโลยีการวิเคราะห์วิจัยและ ปรับปรุง ฐานข้อมูลดิน
๑๕. สนับสบุนงานวิเคราะห์วิจัยทดสอบในด้านดินนํ้าพืช
๑๖. ตรวจสอบวิเคราะห์ข้อมูลการเกษตรฟ้องต้นเพื่อใข้ศึกษาคันคว้าทดลองวิเคราะห์วิจัย เกี่ยวกับงานวิชาการเกษตรในโครงการต่างๆ
๑๗. วิเคราะห์ชัอมูลภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายจากดาวเทียมด้านการใช้ที่ดินปฏิบัติงาน สำรวจภาคสนามปรับปรุงข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินผลิตแผนที่สภาพการใช้ที่ดินชองพี้นที รับผิดชอบและจัดทำข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของพืชเศรษฐกิจเพื่อการประเมินผลผลิต
๑๘. ปฏิบัติงานวิจัยเพื่อประเมินพยากรณ์ผลผลิตพืชโดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และ ข้อมูลจากดาวเทียมในการจัดทำแผนที่ต่างๆ
๑๙. ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับการปลูกพืชและผลผลิตพืชได้แก่ ลักษณะของดินนํ้าภูมิอากาศและการจัดการเพื่อกำหนดเขตการใชที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจ กำหนดเขตการใช้ที่ดินในพี้นที่โครงการและบนพี้นทีสูงและประสานความร่วมมือกับ หน่วยงานอื่นๆ ในการศึกษาจำแนกพื้นที่ตามความเหมาะสมของการใช้ที่ดินเพื่อการจัดที่ดิน ทำกินให้แก่ราษฎรในพื้นที่ต่างๆ
๒๐. ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านทรัพยากรดินนํ้า เพื่อวางแผนการเกษตรในพื้นที่เกษตรแข่งข้น และพอเพียง
๒๑. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้านการใข้ที่ดินทางการเกษตรเพื่อใช้ในการจัดการดินและนํ้าในพื้นที่ เสี่ยงภัย
๒๒. ศึกษา ด้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูลทางการเกษตร บทวิจัย บทความทางการเกษตรหรือที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาที่ดินจากทุกแหล่งข้อมูล
๒๓. รวบรวม วิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูลทางการเกษตร ข้อมูลการพัฒนาที่ดิน และภูมิปัญญา เกษตรกรจากแหล่งข้อมูลต่างๆ จัดทำให้ออกมาอยู่ในลักษณะเอกสาร บทความหรือเอกสาร คำแนะนำเพื่อการเรียนรูและการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับหน่วยงานภายในกรมๆ
๒๔. จัดหมวดหมู่เอกสารบทความ ความรู้ด้านการพัฒนาที่ดินให้เป็นคลังข้อมูลความรู้ด้านการพัฒนา ที่ดิน เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหานำกลับมาใช้ใหม่
๒๕. ประสานและตรวจสอบข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำสื่อเพื่อการเรียนรู้และเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับ หัวหน้างานภายในกรมๆ
๒๖. ติดตามการปฏิบัติงานจากแบบรายงานและการออกพื้นที่จริงในงาน – โครงการที่ได้รับมอบหมาย จากสำนักๆ
๒๗. ศึกษาวิจัยและพัฒนาด้านชนิดและพันธ์พืชป๋ยสดในการปรับปรุงบำรุงดินให้เหมาะสมกับสภาพ พื้นที่และข้อจำกัดดินเพื่อเผยแพร่ให้กับเกษดรกรและผู้สนใจ
๒๘. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และทดลองด้านการใช้ประโยชน์ของอินทรียวัดอุ และปุ่ยอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ รวมทั้งการใช้ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ดินในการปรับปรุงบำรุงดินอย่างยั่งยึน
๒๙. เป็นผู้มีความรู[นด้านการส่งเสริมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การชัดนิทรรศการและสาธิตการใช้ป็ย อินทรีย์ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ดินในการปรับปรุงบำรุงดินในระบบเกษตรยั่งยืน
๓๐. ตรวจสอบวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับงานวิชัยเพื่อใช้ศึกษาค้นคว้าทดลองวิเคราะห์วิชัย เกี่ยวกับงานวิชาการเกษตรชัดทำข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และการรวบรวมข้อมูล พื้นฐานโดยใช้คอมพิวเตอร์
๓๑. รวบรวมสถิติและข้อมูลต่างๆรวมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลเบื้อต้นเกี่ยวกับงานวิชัยเพื่อใช้ศึกษาค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์และวิชัยเกี่ยวกับงานวิชาการต้านความสัมพันธ์ดินนํ้าพืช
๓๒. รวบรวม / วิเคราะห์ข้อมูลด้านทรัพยากรต่างๆและภูมิอากาศเพื่อประมวลผล่ในการชัดทำระบบ เตือนภัยต่างๆทั้งแห้งแล้งนํ้าท่วมดินถล่ม
๓๓. วิเคราะห์ข้อมูลการเกษตรเพื่อวางแผนการพัฒนาพื้นที่เสื่อมโทรมต่างๆประเภทพื้นที่แห้งแล้ง พื้นที่รัางดินดานและดินเค็ม
๓๔. ค้นคว้าวิชัยเทคโนโลยีใหม่ๆในด้านการแกัปัญหาดินและความเสื่อมโทรมของดิน
๓๕. ทำหน้าที่ช่วยผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญในการค้นคว้าข้อมูลงานวิชาการเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ และตัดสินใจในการนำเสนอโครงการ
๓๖. ศึกษา ค้นคว้า ทดลองวิเคราะห์ วิชัยเกี่ยวกับงานวิชาการ ตรวจสอบวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น เกี่ยวกับงานวิชัย วิเคราะห์สถิติ เป็นผู้ช่วยในการปฏินัดิงานวิเคราะห์ วิชัยในโครงการความ ร่วมมือกับต่างประเทศ
๓๗. สาธิต การพัฒนาที่ดิน การผลิตพันธ์พืชเพื่อการอนรักษ์ดินและนํ้า
๓๘. ปฏีนัดิงานวิชาการด้านการพัฒนาที่ดิน เช่น งานทดสอบ สาธิตการพัฒนาที่ดิน
๓๙. เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้แก่หมอดินอาสา เกษตรกร และเจ้าหน้าที่ของรัฐทั้งหน่วยงานของ รัฐทั้งหน่วยงานเดียวกัน และหน่วยงานอื่นๆ
๔๐. ศึกษา ค้นคว้าทดลอง วิเคราะห์และวิชัย เกี่ยวกับการสำรวจดินการปรับปรุงพันธ์พืชเกษตร ทฤษฏีใหม่เกษตรยั่งยืน การขยายพันธ์หฟ้าแฝก ๆลๆ
๔๑. ปฏิบัติงานอื่นๆตามรูปแบบการพัฒนาที่ดินที่ได้รับมอบหมาย ทั้งในส่วนกลางหรือส่วนภูมิภาค หรืองานตามแผนยุทธศาสตร์ของชังหวัด (CEO)
๔๒. ปฏีบตงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย

วิชาที่สอบ

เจ้าหน้าที่แผนที่ภาพถ่าย

ทดสอบเพ อรัดความรู้ความสามารถที,ใข้เฉพาะตำแหน่งด้งต่อไปนี่โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
(๑) ควำมรู้เกี่ยวกับนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นโยบายกรมพัฒนาที่ดินบทบาทหน้าที่ ภารกิจ
(๒) ความรู้เรื่องเทคโนโลยีการสำรวจและการทำแผนที่
(๓) ความรู้ด้านการรังรัด ภาพถ่าย (Photogrammetry) และการสำรวจระยะไกล (Remote Sensing)
(๔) ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมการใช้ข้อมูลด้านภูมิสารสนเทศ
หสักภูตรแสะวิธีการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๒
ทดสอบเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง โดยการสอบสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
(๑) ความรู้ ความสามารถ
(๒) สมรรถนะ
(๓) บุคลิกภาพทั่วไปและทัศนคติ


นักวิชาการเกษตร

ทดสอบเพื่สวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
(๑) ความรู้เกี่ยวกับนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นโยบายกรมพัฒนาที่ดิน บทบาทหน้าที่ ภารกิจ
(๒) ความรู้เกี่ยวกับงานการเกษตรและการพัฒนาที่ดิน เช่น ความรู้ทั่วไปทางการเกษตรการอนุรักษ์ดิน และนํ้า การชัดการดิน การปรับปรุงบำรุงดิน การวางแผนการใช้ที่ดิน และการใช้ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่ เกี่ยวข้องกับกรมพัฒนาที่ดิน เป็นต้น
หลักสูตรแสะวิธีการประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะ แสะสมรรถนะ ครั้งที่ to
ทดสอบเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งโดยการสอบสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
(๑) ความรู้ ความสามารถ
(๒) สมรรถนะ
(๓) บุคลิกภาพทั่วไปและทัศนคติ

วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมพัฒนาที่ดิน  :ตนเอง

ผู้ประสงค์จะสมัครขอและยื่นใบสมัครด้วยตนเองได้ที่

สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 11 เลขที่ 3 ซ.ธราธิบดี 7 ตำบลท่าข้าม อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี84130 ตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคม 2565 – 25 มีนาคม 2565 (ในวันและเวลาราชการ)

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมพัฒนาที่ดิน

แผนที่ file 1