กระทรวงแรงงาน [พนักงานราชการเฉพาะกิจ ปัตตานี] เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ 1 ก.ค. -7 ก.ค. 2564 รวม 19 อัตรา,

แชร์เลย

กระทรวงแรงงาน[พนักงานราชการเฉพาะกิจ

กระทรวงแรงงาน พนักงานราชการเฉพาะกิจ ปัตตานี

ลิงค์: https://ehenx.com/14660/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิชาการแรงงาน,นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 18,000-
อัตราว่าง: 19
ปฏิบัติงานที่: ปัตตานี (สำนักงานแรงงานจังหวัดปัตตานี)
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 1 ก.ค. – 7 ก.ค. 2564
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**



กระทรวงแรงงาน เปิดรับสมัคร

ประกาศจังหวัดปัตตานี

เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการเฉพาะกิจ

ด้วยจังหวัดปัตตานี โดยสำนักงานแรงงานจังหวัดปัตตานี มีความประสงค์รับสมัครบุคคล เพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการเฉพาะกิจ ในตำแหน่งนักวิชาการแรงงาน อาศัยอำนาจตามประกาศ คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการสรรหาและการเลือกสรร พนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่ม และการจัดกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ และ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ และมติคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๔ จึงประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการเฉพาะกิจ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

นักวิชาการแรงงาน

อัตราว่าง : 18 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

นักวิชาการแรงงาน

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา


นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงาน

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

นักวิชาการแรงงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการแรงงาน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้

  1. ทำหน้าที่สำรวจข้อมูลด้านแรงงานทั้งในระบบและนอกระบบในระดับพื้นที่ บันทึกและประมวลผลข้อมูล ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการสำรวจ และนำเสนอข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในระดับตำบล/อำเภอ/จังหวัด และติดตามประเมินผลและข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์
  2. เป็นผู้ประสานงานอาสาสมัครแรงงานเพื่อส่งต่อการให้บริการด้านแรงงานที่มีประสิทธิภาพ
  3. จัดเก็บและพัฒนาฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ แรงงานคนพิการ และแรงงานผู้สูงอายุในระดับอำเภอ และเป็นผู้ประสานงานด้านแรงงานนอกระบบในระดับอำเภอ
  4. สำรวจข้อมูลผู้ประสงค์ขอรับบริการ ความต้องการรับบริการจากหน่วยงาน ปัญหาอุปสรรคของแรงงานในระดับพื้นที่ โดยจำแนกเป็นรายด้าน เช่น ด้านสิทธิประโยชน์ด้านแรงงาน ด้านการคุ้มครองแรงงาน ด้านการจัดหางาน ด้านการฝึกอาชีพ และด้านการติดตามสิทธิประโยชน์ของแรงงานไทยที่เดินทาง ไปทำงานในต่างประเทศ เป็นต้น และรวบรวมเป็นหลักฐานตามแบบรับส่งต่อสำนักงานแรงงานจังหวัด เป็นประจำทุกวัน
  5. บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสร้างองค์ความรู้ด้านอาชีพและด้านการส่งเสริมสุขภาวะ เช่น ความปลอดภัยในการทำงาน สภาพแวดล้อมในการทำงาน การเข้าสู่หลักประกันสังคม ความปลอดภัยในการทำงานของแรงงานนอกระบบ เป็นต้น ให้แก่แรงงานนอกระบบ แรงงานคนพิการ และแรงงานผู้สูงอายุ
  6. ส่งเสริมการสร้างกิจกรรมสำนึกรักบ้านเกิดและการพัฒนาชุมชนในระดับชุมชน หมู่บ้าน ตำบล และอำเภอ
  7. ประชุม เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่เกี่ยวข้องในประเด็นการบังคับใช้แรงงานหรือบริการ ให้กับเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกสังกัด สถานประกอบการ อาสาสมัครแรงงานและเครือข่าย และแรงงานในพื้นที่ และรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือน
  8. สำรวจความเดือดร้อนและเป็นผู้ประสานและบริหารจัดการแผนงาน/โครงการระหว่างประชาชน ในระดับชุมชน หมู่บ้าน ตำบล อำเภอที่ประสบความเดือดร้อนจากภัยธรรมชาติ หรือวิกฤตเศรษฐกิจ ว่างงาน ไม่มีรายได้ หรือผู้มีรายได้น้อย และมีความต้องการความช่วยเหลือตามแนวทางของโครงการแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนด้านอาชีพ กับสำนักงานแรงงานจังหวัด
  9. เป็นผู้ประสานงานหลักกับอาสาสมัครแรงงานและเครือข่ายในระดับอำเภอ และพัฒนาเพิ่มอัตราเครือข่ายในระดับชุมชนหรือหมู่บ้าน
  10. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างจิตสำนึกแก่อาสาสมัครแรงงาน เครือข่าย และแรงงานในสถานประกอบการและกลุ่มแรงงานนอกระบบให้ตระหนักถึงปัญหาของยาเสพติด สร้างความร่วมมือป้องกัน และแก้ไขปัญหา
  11. สำรวจข้อมูลในระดับพื้นที่ในสถานประกอบการตามเป้าหมายที่สำนักงานแรงงานจังหวัดกำหนดบันทึกข้อมูลการสำรวจในระบบฐานข้อมูลอุปสงค์และอุปทานกำลังคนเพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย
  12. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงาน

  1. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนเกี่ยวกับการพัฒนาผิมือแรงงานให้กับประชาชนและสถาน ประกอบกิจการในพื้นที่รับผิดชอบ
    1. การให้คำแนะนำในเบื้องต้น และสร้างการรับรู้ข้อมูลแรงงานด้านต่างๆ ให้กับแรงงาน ในพื้นที่ทั้งด้านการอบรมพัฒนาผิมือแรงงาน กระบวนการพัฒนาฟิมือแรงงานเพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงาน การปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมการจัดทำและทดสอบมาตรฐานฟิมือแรงงานของผู้ประกอบอาชีพทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล กระบวนการวิเคราะห์จำแนกตำแหน่งงานหรือบริหารค่าจ้าง และค่าตอบแทน และข้อมูลข่าวสารต่างๆ ให้แรงงานไทยได้พัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะและทัศนคติ ของกำลังแรงงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
    2. ช่วยปฏิบัติงานเกี่ยวกับการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งให้กับระบบมาตรฐานผิมือแรงงาน งานด้านการรับรองความรู้ความสามารถตามที่กำหนด สนับสนุน การใช้สิทธิประโยชน์อันเนื่องจากมีลูกจ้างผ่านการรับรองความรู้ความสามารถ งานด้านกองทุนพัฒนาผิมือ แรงงานเพื่อส่งเสริมให้ประชาขนและสถานประกอบกิจการมีเงินทุนในการจัดฟิกอบรม งานด้านการิส่งเสริม ให้สถานประกอบกิจการทดสอบมาตรฐานฟิมือแรงงานในสาขาต่างๆ เพื่อเป็นเกณฑ์พิจารณากำหนดตำแหน่ง หน้าที่ และอัตราค่าจ้างตามความสามารถ และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวช้องกับการพัฒนาฟิมือแรงงานของหน่วยงาน
    3. ประสานการสร้างเครือข่ายการพัฒนาฟิมือแรงงานและศักยภาพแรงงาน ส่งเสริมและ สนับสนุนให้สถานประกอบกิจการ และองค์กรภาครัฐและภาคเอกชนนำมาตรฐานฟิมือแรงงานไปใช้ในระบบ พัฒนากำลังแรงงานและการจ้างงาน
    4. สนับสนุนและช่วยปฏิบัติงานด้านการจัดการฟิกอบรมให้เป็นไปตามกฎหมายกำหนด ดำเนินการเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ต่างๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการพัฒนาฟิมือแรงงาน งานเลขานุการ คณะอนุกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฟิกอาชีพจังหวัดงานส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือองค์กรอาชีพจัดตั้งศูนย์ทดสอบฟิมีอแรงงาน ศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ งานส่งเสริม การมีส่วนร่วมเกี่ยวกับมาตรฐานฟิมือแรงงาน งานด้านการส่งเสริมให้มีการประเมินและออกหนังสือรับรอง ความรู้ความสามารถ งานด้านการส่งเสริมให้มีการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประเมิน งานด้านส่งเสริม สนับสนุน และจัดไห้มีการประเมินและออกหนังลือรับรองความรู้ความสามารถ งานด้านส่งเสริมในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนหรือองค์กรอาชีพ และงานอื่น ๆที่เกี่ยวช้องกับการพัฒนาฟิมือแรงงาน
    5. งานประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฟิมือ แรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ ให้แก่ประชาชนทั่วไปและสถานประกอบกิจการ การนำเสนอนโยบายยุทธศาสตร์ ให้กับทุกภาคส่วนเพื่อขยายผลการส่งเสริมและทดสอบมาตรฐานสมือแรงงานให้เป็นที่ยอมรับ
  2. ด้านการช่วยรวบรวม จัดเก็บ และบันทึกข้อมูล
    1. สำรวจและจัดเก็บข้อมูล ปรับปรุงหรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศเกี่ยวกับการบริหาร และการพัฒนาฟิมือแรงงาน การประมวลผล วิเคราะห์ และการนำเสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แผนงาน โครงการ หลักเกณฑ์วิธีการในการบริหารงานด้านการพัฒนาฟิมือแรงงานด้านมาตรฐานรีเมือแรงงานและด้านส่งเสริม การประกอบอาชีพเพื่อสนับสนุนภารกิจชองกรม
    2. การบันทึกข้อมูลการปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมการพัฒนารีเมือแรงงานให้ลูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันเข้าสู่ระบบ Data Center และระบบฐานข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีความพร้อมนำไปใช้ ประกอบการกำหนดทิศทางในการพัฒนารีเมือแรงงานทั้งระดับกรมและระดับจังหวัด
    3. สรุปรายงานเกี่ยวกับการดำเนินงานหรือรายงานการรวบรวมข้อมูลทางวิชาการ เพื่อ
      ประกอบการตัดสินใจของผู้บังคับบัญชา
  3. ด้านกิจกรรมเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ และโครงการต่าง ๆ
    เพื่อสนับสนุนการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและสร้างความเชื่อมั่นต่อประชาชน เช่น เข้าร่วมกิจกรรมการ บำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ และร่วมสนับสนุนโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ของกรมและเกี่ยวซ้องกับการให้บริการประชาชนในพื้นที่

วิชาที่สอบ

นักวิชาการแรงงาน

ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ คุณลักษณะส่วนบุคคล

  • พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการ ทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบ
  • พิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เข่น ความรู้ที่อาจใช้ ประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ความสามารถ ประสบการณ์ ทัศนคติ อุปนิสัย อารมณ์ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน ความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ เป็นต้น

นักวิชาการพัฒนาฝีมือแรงงาน

ความรู้ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ คุณลักษณะส่วนบุคคล

  • พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการ ทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบ
  • พิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เข่น ความรู้ที่อาจใช้ ประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ความสามารถ ประสบการณ์ ทัศนคติ อุปนิสัย อารมณ์ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน ความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ เป็นต้น

วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กระทรวงแรงงาน [พนักงานราชการเฉพาะกิจ ปัตตานี]  :สมัครทางไปรษณีย์  

รับสมัครทางไปรษณีย์ด่วนพิเศษ (EMS) เท่านั้น ตั้งแต่วันที่ ๑ ถึงวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๔๖๔ โดยสามารถดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่ http://www.pattani.moLgo.th หัวข้อ “ขำวสาร” > “ประกาศ” หรือโดยสแกน ผ่าน QR-Code ท้ายประกาศฉบับนี้ และจัดส่งใบสมัครพร้อมเอกสารและหลักฐาน การสมัครไปยัง สำนักงานแรงงานจังหวัดปัตตานี ศาลากลางจังหวัดปัตตานี อาคาร ๓ ชั้น ๓ ถนนเดชา ตำบลสะบารัง อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ๙๔๐๐๐ โดยไม่เสียค่าธรรมเนียมสมัคร และเขียนที่มุมซองให้ ชัดเจนว่า “สมัครสอบพนักงานราชการเฉพาะกิจ”
ทั้งนี้ จะถือวันที่ที่ทำการไปรษณีย์ต้นทางประทับตรารับฝากเป็นวันรับสมัครและเอกสารที่ ที่ทำการไปรษณีย์ด้นทางประทับตราก่อนวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๔๖๔ และหลังวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๔๖๔ จะไม่รับการพิจารณา

สำนักงานแรงงานจังหวัดปัตตานี สำนักงานแรงงานจังหวัดปัตตานี ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 – 7 กรกฎาคม 2564 (ในวันและเวลาราชการ)

ดาวน์โหลดไฟล์ “กระทรวงแรงงาน [พนักงานราชการเฉพาะกิจ ปัตตานี]

แผนที่ | ประกาศ 1 |