กทม. เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 17 มิ.ย. -28 มิ.ย. 2567 รวม 109 อัตรา,

แชร์เลย
กทม.เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ

กทม.

ลิงค์: https://ehenx.com/18153/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน,เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ,นักจัดการงานรักษาความสะอาดปฏิบัติการ,นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ,นักบัญชีปฏิบัติการ,นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ,นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ,นักวิชาการคลังปฏิบัติการ,นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ,นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ,นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ,นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ,นิติกรปฏิบัติการ,บรรณารักษ์ปฏิบัติการ,วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ,วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ,สถาปนิกปฏิบัติการ
ระดับการศึกษา: ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 10,340-16,500
อัตราว่าง: 109
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 17 มิ.ย. – 28 มิ.ย. 2567
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ



กทม. เปิดรับสมัคร

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร

เรื่อง รับสมัครสอบแช่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๗

ด้วยสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร (สำนักงาน ก.ก.) จะดำเนินการ สอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๔ (๙) มาตรา ๒๙ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ-ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ มติ ก.ก. ครั้งที่ ๒/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ มติ ก.ก. ครั้งที่ ๙/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๑ และมติ ก.ก. ครั้งที่ ๑๑/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสอบแช่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้ง บุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ในตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และ ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ จึงประกาศรับสมัครสอบแช่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคล เข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จำนวน ๒๑ ตำแหน่ง ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 10340-12650.- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 10340-12650.- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 17 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 10340-12650.- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 20 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักจัดการงานรักษาความสะอาดปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักบัญชีปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 12 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นิติกรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


บรรณารักษ์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


สถาปนิกปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 16500.- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน

๑    . ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
๒    . ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนึยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา
๓    . ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนึยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทุกสาขาวิชา


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

๑    . ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์
๒    . ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดิในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า หรือลาชาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๒ บี ต่อจาก ประกาศนิยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ทางไฟฟ้า หรือทางอิเล็กทรอนิกส์
๓    . ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา-ไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาก่อสร้าง
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดีในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมสำรวจ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา หรือสาขาวิชาเทคนิคการจัดการงานก่อสร้าง หรือ อนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาก่อสร้าง
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง


เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน


นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน


นักจัดการงานรักษาความสะอาดปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

ไต้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน


นักบัญชีปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางบัญชี


นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน


นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาชาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ หรือสาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ


นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชานิติศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หรือสาขาวิชาบริหารธุรกิจ


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาชาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์


นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชานริหารธุรกิจ ทางการพาณิชย์ ทางการตลาด ทางการเงิน ทางการเงินและการธนาคาร ทางการจัดการ หรือ ทางการบัญชี หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์


นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาชาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หรือสาขาวิชาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ ทางประชากรศาสตร์


นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางจิตวิทยา หรือทางสุขศึกษา สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์-ชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาแพทยศาสตร์ สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ สาขาวิชาเทคนิค-การแพทย์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์บระยุกต์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาชาวิชา การแพทย์แผนไทย หรือสาชาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์


นิติกรปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที,เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชานิติศาสตร์
หลักสูตรและวิธีการสอบภาคความรู้ความสามารถที่ใข้เฉพาะตำแหน่ง


บรรณารักษ์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางบรรณารักษ์ศาสตร์ ทางบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ ทางบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ทางสารสนเทศศึกษา หรือทางสารนิเทศศาสตร์


วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมเครื่องกล และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด


วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมไฟฟ้า และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด


สถาปนิกปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาสถาปัตยกรรม และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านรักษาความสะอาด และรักษาสภาวะแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ควบคุม การปฏิบัติงานของคนงานและเจ้าหน้าที่ และให้บริการด้านรักษาความสะอาดและ การรักษาสภาวะแวดล้อม เช่น การทำความสะอาดถนนและตรอกซอยสาธารณะ การเก็บขนและกำจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล ไขมัน นํ้ามัน ของเสียอันตราย และสิ่งเปรอะเข้อนในเขตกรุงเทพมหานคร การปลูก ดูแลและ บำรุงรักษาต้นไม้ ดูแลพื้นที่สีเขียว เป็นต้น
(๖) ดูแล รักษาความสะอาดบริเวณโบราณสถาน สถานที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ในพื้นที่เขตความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดความสะอาดเรียบร้อย แก่ผู้พบเห็น หรือนักท่องเที่ยว
(๓) ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณที่เกี่ยวกับงานรักษาความสะอาด เช่น การคิดค่าธรรมเนียม ขยะมูลฝอยประเภทต่าง ๆ การออกแบบใบแจ้งหนี้เก็บค่าธรรมเนียม เป็นต้น เพื่อให้งานรักษาความสะอาด เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับที่กำหนดไว้
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำชี้แจง ตอบข้อซักถามแก1บุคคลต่าง ๆ ในเรื่องเกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบ ด้านการรักษาความสะอาด การรักษาสภาวะแวดล้อม การรณรงค์ แนะนำ การกำจัดและแยกขยะ เพื่อส่งเสริม ความรู้ความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อให้การดำเนินงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือ บุคคลที่เกียวข้องลุล่วงไปด้วยดี
(๒) ประสานงานกับหน่วยต่าง ๆ ตามที่ได้รับการร้องขอ เพื่อให้การดำเนินงานดังกล่าวเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด โดยคำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(    ๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุมการใช้งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและ มีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการภายในและภายนอก
(    ๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
๒. ด้านการบริการ
(    ๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้Iช้งานและผู้รับบริการ ทั้งภายในและภายนอก หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
(    ๒) ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อให้ตรงตามหลัก วิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และงบประมาณที่ได้รับ
(๒) ตรวจสอบ แก้ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้ การดำเนินงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
(๔) ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างต เมทีได้รับมอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
(๕) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล งานด้านโยธาและด้านระบบระบายนํ้า จัดทำระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง
(๖) ดำเนินการป้องกัน แก้ไขปัญหานํ้าท่วมและระบบการระบายนํ้า เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ของประชาชน
(๗) ปฏิบัติงานด้านบำรุงรักษาแหล่งรับนํ้าให้มีที่ว่างเพียงพอ เพื่อสำหรับรองรับนํ้า
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและฟิกอบรมเกี่ยวกับงานโยธาที่รับผิดชอบ แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ และมีทักษะ เหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความ ช่วยเหลือและร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของ หน่วยงานหรือส่วนราชการ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านระบบงานคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ติดตั้ง ตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ซ่อมแซม เครื่องคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย เพื่อให้ การดำเนินงานของหน่วยงานเป็นไปอย่างสะดวกราบรื่น
(๒) ดูแล ติดตั้งโปรแกรมของหน่วยงาน และบำรุงรักษาสภาพการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และ ระบบเครือข่ายภายในส่วนราชการที่รับผิดชอบ เพื่อให้การดำเนินงานของหน่วยงานนั้นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) จัดทำระบบเครือข่ายขนาดเล็กภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการที่รับผิดชอบ เพื่อให้สอดคล้อง กับการดำเนินงานและความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) จัดทำ รวบรวม วิเคราะห์วิธีการและลำดับของการประมวลผลข้อมูลตามความต้องการของ หน่วยงาน เพื่อเลือกระบบและวางแผนการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
(๕) รวบรวม จัดทำ จัดเก็บ ดูแล ตรวจสอบข้อมูลต่างๆของหน่วยงาน และแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้อง เพื่อให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้ตามที่ต้องการ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ต้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริงแก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ ผู้ใชัเข้าใจและใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) จัดฟิกอบรมเผยแพร่ความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์ ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจและการนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน


นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการภายในสำนักงานหรือการบริหารราชการทั่วไป ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา รวบรวมข้อมูล สถิติ สรุปรายงาน เพื่อสนับสนุนการบริหารสำนักงานในด้านต่าง ๆ เช่น งานบริหารทรัพยากรบุคคล งานบริหารงบประมาณ งานบริหารแผนปฏิบัติราชการ งานบริหารอาคาร สถานที่ และงานสัญญาต่าง ๆ เป็นต้น
(๒) ปฏิบัติงานเลขานุการของผู้บริหาร เช่น การกลั่นกรองเรื่อง การจัดเตรียมเอกสารสำหรับ การประชม เป็นต้น เพื่อไมให้เกิดข้อผิดพลาดในการวินิจฉัยสั่งการของผู้บริหาร
(๓) จัดเตรียมการประชุม บันทึกและเรียบเรียงรายงานการประชุม และรายงานอื่น ๆ เพื่อให้ การบริหารการประชุมมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) ทำเรื่องติดต่อกับหน่วยงานหรือส่วนราชการ และบุคคลต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด
(๔) ช่วยติดตามการปฏิบัติตามมติของที่ประชุม หรือการปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บริหารของ หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อการรายงานและเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาของผู้บังคับบัญชาต่อไป
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมถุทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ตอบปัญหา ชี้แจง และให้คำแนะนำเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงาน ราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบข้อมูลและเกิดความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ


นักจัดการงานรักษาความสะอาดปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการรักษาความสะอาด รวมถึงการรักษาสภาวะแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ด้นคว้า วิเคราะห์ และเสนอแผนงาน มาตรการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบงาน รูปแบบ วิธีการปฏิบัติงานด้านการรักษาความสะอาด รวมถึงการรักษาสภาวะแวดล้อม ตลอดจนติดตามและประเมินผล เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
(๒) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ สำรวจ จัดเก็บและรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อจัดทำรายงานทางด้าน การรักษาความสะอาด รวมถึงการรักษาสภาวะแวดล้อม การรณรงค์ แนะนำการกำจัดและคัดแยกขยะมูลฝอย เพื่อพัฒนางานและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เช่น รายงานผลการปฏิบัติงานด้านการรักษาความ สะอาด การจัดเก็บ การคัดแยกขยะมูลฝอย การนำขยะกลับมาใช้ ปริมาณขยะมูลฝอยประเภทต่าง ๆ เป็นต้น
(๓) กำหนดแนวทางการปฏิบัติงาน และวางแผนจัดอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน
(๔) จัดทำแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อดูแลรักษาความสะอาด และการรักษาสภาวะแวดล้อม และ การดูแลรักษาพื้นที่สีเขียว
(๕) ควบคุม ดูแล ตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการให้บริการด้านการรักษาความ สะอาด รวมถึงการรักษาสภาวะแวดล้อม เช่น การทำความสะอาดถนนและตรอกซอยสาธารณะ สะพาน ทางข้าม อุโมงค์ ทางลอด และสิงก่อสร้าง การเก็บขนและการกำจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล ไขมัน นํ้ามัน ของเสียอันตราย และสิ่งเปรอะเข้อนในเขตกรุงเทพมหานคร การบริการรถสุขาเคลื่อนที่และรถสุขาชั่วคราว ตลอดจนประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา
(๖) ตัดสินใจแก่ไขปัญหาในงานด้านการรักษาความสะอาด รวมถึงการรักษาสภาวะแวดล้อม เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ
(๗) ควบคุม ดูแลการเบิกจ่าย การบำรุงรักษาเครื่องมือ อุปกรณ์ในการรักษาความสะอาด ยานพาหนะและเครื่องจักรกลทุกประเภท เพื่อให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน
(๘) จัดทำโครงการ หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมและให้ความรู้ในงานด้านการรักษาความสะอาด รวมถึงการรักษาสภาวะแวดล้อม การรณรงค์ แนะนำ การกำจัดและแยกขยะ เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาขนและพัฒนามาตรฐานงานด้านรักษาความสะอาดให้สอดคล้องกับนโยบายของกรุงเทพมหานคร และ ทันต่อเทคโนโลยี วิทยาการใหม่ ๆ
(๙) ประเมินปริมาณขยะมูลฝอย เพื่อจัดเก็บค่าธรรมเนียมเก็บขนมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล รวมถึง ค่าบริการต่าง ๆ
(๑๐) ดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบัญญัติ กฎ และระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการรักษา ความสะอาดและการรักษาสภาวะแวดล้อม
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที,รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริงแก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำในงานด้านวิชาการแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้สามารถ ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) เป็นวิทยากรให้ความรู้ด้านการรักษาความสะอาด รวมถึงการรักษาสภาวะแวดล้อมแก่เจ้าหน้าที่ และหน่วยงานต่าง ๆ ที่ร้องขอ
(๓) จัดทำสื่อ เอกสารเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในงานด้าน การรักษาความสะอาด รวมถึงการรักษาสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ เช่น การแยกขยะก่อนทิ้ง การนำขยะกลับมาใช้ใหม่ ช่วงเวลาในการเก็บขยะมูลฝอย เป็นต้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
(๔) แก่ไขเรื่องร้องเรียนต่าง ๆ ให้คำปรึกษา แนะนำด้านการรักษาความสะอาด รวมถึงการรักษา สภาวะแวดล้อมให้แก่ประชาชนอย่างเป็นธรรม


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการพัฒนาระบบราชการ การบริหารทรัพยากรบุคคล หรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการวางระบบ การจัดทำมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานหรือชองส่วนราชการ
(๒) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประกอบการดำเนินงาน เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
(๓) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดความต้องการและ ความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวางแผนทางก้าวหน้าในอาชีพ การจัดหลักสูตรและการถ่ายทอด ความรู้ การจัดสรรทุนการศึกษา และการดูแลนักเรียนทุนของกรุงเทพมหานคร รวมถึงการวางแผนและ เสนอแนะนโยบายหรือยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และแผนการ จัดสรรทุนการศึกษาและการัผืกอบรม
(๔) ศึกษา รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์งาน เพื่อประกอบการพัฒนาระบบราชการ การจัด และพัฒนาโครงสร้างหน่วยงาน การกำหนดตำแหน่ง และการวางแผนกำลังคน
(๕) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวางหลักเกณฑ์การบริหารผลการ ปฏิบัติงาน และการบริหารค่าตอบแทน
(๖) จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ติดตามและประเมินผลสัมฤทธของการพัฒนาระบบราชการ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายที่กำหนด
(๗) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบข้อมูล ถ้อยคำ ข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการดำเนินการทางวินัย การรักษาวินัยและจรรยา
(๘) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบพิทักษ์คุณธรรม
(๙) ดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาและเลือกสรร เพื่อบรรจุและแต่งตั้งผู้มีคว-เมรู้ ความสามารถให้ดำรงตำแหน่ง
(๑๐) ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เช่น การบรรจุ แต่งตั้ง โอน ย้าย การเลื่อนเงินเดือน การเลื่อนตำแหน่ง การทะเบียนประวัติ การออกจากราชการ เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินการด้านบุคคลเป็นไปตามกฎหมาย กฎ มติคณะรัฐมนตรี มติ ก.ก. และระเบียบที่เกี่ยวข้อง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน ข้าราชการ พนักงาน หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือประชาชนทั่วไป เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารและการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้างความเข้าใจและสนับสนุนงานตามภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๒) ให้บริการข้อมูล เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสนับสนุนภารกิจของบุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ และใข้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์และมาตรการต่าง ๆ
(๓) ดำเนินการจัดสวัสดิการและการส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพ การปฏิบัติงาน


นักบัญชีปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านบัญชี ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ตรวจสอบการจัดทำบัญชีและเก็บรักษาบัญชี รวมทั้งเอกสารประกอบการลงบัญชีของหน่วยงาน ที่มีหน้าที่ต้องจัดทำบัญชีตามกฎหมาย เพื่อให้การจัดทำบัญชีและการดำเนินงานของหน่วยงานเหล่านั้นถูกต้อง ตามกฎหมาย
(๒) ตรวจสอบ ติดตาม และยืนยันยอดการรับ – จ่ายเงินและควบคุมการขออนุมัติเงินทุกประเภท เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่กำหนดสามารถจัดทำรายงานทางการเงินของกรุงเทพมหานคร ได้อย่างถูกต้องและเสร็จตามเวลาที่กำหนด
(๓) ศึกษา รวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการของระบบบัญชีและระบบบัญชีรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเป็นข้อมูลให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับสูงขึ้นไปใช้ประกอบการพิจารณาวางแผนการพัฒนาระบบบัญชี การวางรูปบัญชี และการตรวจสอบบัญชีต่อไป
(๔) บันทึกรายการบัญชีรายรับ รายจ่ายของเงินทุกประเภท และจัดทำรายงานทางการเงินตามคู่มือ การบัญชีกรุงเทพมหานคร และรายงานทางการเงินในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร เพื่อนำเสนอผู้บังคับบัญชา ใช้เป็นข้อมูลในการบริหารและตัดสินใจ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำVเนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษา แนะนำ ด้านการบัญชี การเงิน การจัดทำบัญชีงบประมาณ แก่หน่วยงานหรือ ส่วนราชการต่าง ๆ และเอกชน เพื่อให้มีระบบบัญชีที่เหมาะสม โปร่งใส ตรวจสอบได้
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางบัญชี


นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิเคราะห์งบประมาณ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล ความเห็น ข้อเสนอแนะ ในการทำระบบและหลักเกณฑ์ มาตรฐานด้านต่าง ๆ ไปใช้ในการจัดทำและวิเคราะห์งบประมาณ รวมทั้งจัดทำรายงานความก้าวหน้ารายไตรมาส และรายงานภาพรวมประจำปี เพื่อประกอบการวิเคราะห์จัดสรรงบประมาณประจำปี และบริหารงบประมาณ
(๒) ร่วมศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาระบบ รูปแบบ การจัดทำมาตรฐานต้นทุน บัญชีราคา มาตรฐานด้านต่าง ๆ ประมาณการภาระหนี้สาธารณะ โครงสร้างแผนงบประมาณของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และกระบวนการจัดทำแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการ เพื่อประกอบการวิเคราะห์ จัดสรรงบประมาณประจำปี และการบริหารงบประมาณ
(๓) ร่วมศึกษา วิเคราะห์ ยุทธศาสตร์ นโยบายของกรุงเทพมหานคร กรอบการขอจัดสรร งบประมาณ ความสอดคล้องของโครงการกับยุทธศาสตร์การบริหารราชการกรุงเทพมหานคร ความเป็นไปได้ ในการใช้จ่าย เพื่อประกอบการวิเคราะห์ จัดสรรงบประมาณประจำปี และบริหารงบประมาณ
(๔) ร่วมจัดทำร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเดิม เอกสาร ประกอบ และคำแถลงงบประมาณรายจ่ายประจำปี เพื่อสนองต่อสภากรุงเทพมหานคร
(๔) ร่วมติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และรายงานความสำเร็จของหน่วยงานหรือส่วนราชการ ตามกรอบงบประมาณที่ได้รับจัดสรร และการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิด ประโยชน์และความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำ และเผยแพร่ความรู้ ด้านงบประมาณ ระเบียบการ และระบบ การติดตามประเมินผลในกระบวนการงบประมาณ เพื่อให้สามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
(๒) ให้บริการข้อมูล ให้คำปรึกษา แนะนำและตอบข้อหารือเกี่ยวกับการงบประมาณต่าง ๆ ให้กับหน่วยงานหรือส่วนราชการ และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบงบประมาณ
(๓) จัดทำคู่มือ หรือเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบ
การปฏิบัติงาน


นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเกษตร ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาด้านพืช เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ด้านพฤกษศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ การปรับปรุงพันธุ การขยายพันธุ วิทยาการด้านพันธุ การเชตกรรม การอารักขา งานวิทยาการ ก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งงานด้านการผลิตสารบำรุงพืช และอื่นๆ เพื่อให้ได้เทคโนโลยีที่เหมาะสมทางการเกษตร และช่วยพัฒนาผลผลิตให้ได้มาตรฐาน และปลอดภัย ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค
(๒) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย พัฒนาและแก่ไขปัญหารวมทั้งวิเคราะห์สภาพการใช้ดิน นํ้า ปุย วัตถุมีพิษการเกษตร เพื่อเพิ่มผลผลิตพืช และปรับปรุงดินให้มีคุณภาพ
(๓) ดำเนินการสำรวจข้อมูลด้านการเกษตร การรับฟ้งปัญหาของเกษตรกร การส่งเสริมความรู้ การถ่ายทอดเทคโนโลยีทางวิชาการเกษตร ปัจจัยการผลิตและภูมิปัญญาท้องถิ่น การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ด้านการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจด้านการเกษตรที่ถูกต้อง และส่งเสริมให้มีผลผลิตและ คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ สถานการณ์การผลิต การตลาดของพืช สินค้าการเกษตรและสินค้าเกษตร แปรรูป เช่น ปริมาณการผลิต การตลาด ราคาผลผลิต ภัยธรรมชาติ ศัตรูพืช เป็นต้น เพื่อวางแผนและแนะนำ การผลิต ส่งเสริมและช่วยเหลือให้เกษตรกร ผู้ประกอบการ สามารถผลิตให้ได้มาตรฐานคุณภาพสินค้าเกษตร
(๔) ส่งเสริมพัฒนาพื้นที่สีเขียวและปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง เพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของ กรุงเทพมหานคร
(๖) ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่ออนุรักษ์และพัฒนาให้เกิดการบริหารจัดการ ที่ดีอย่างยั่งยืนพร้อมกับเพิ่มแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
(๗) สร้างเครือข่ายองค์กรเกษตร ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ด้านการเกษตร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดความรู้แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและประชาชนผู้สนใจ
(๘) ให้บริการด้านวิชาการทางการเกษตร เกี่ยวกับการวินิจฉัย ตรวจสอบ วิเคราะห์ ปัจจัยการผลิต โรคแมลงศัตรูพืช วัชพืช การตรวจสอบรับรองผลิตผล ผลิตภัณฑ์พืช การให้บริการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง ในพืชผัก และการเตือนภัยการระบาดของโรคแมลงศัตรูพืช เพื่อการป้องกันกำจัดที่เหมาะสม
(๙) สำรวจเก็บรวบรวมข้อมูลและดำเนินการตามแผนงานหรือโครงการด้านการเกษตร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้บรรลุตามยุทธศาสตร์และนโยบายชองกรุงเทพมหานคร
(๑๐) รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ประเมิน สรุปผลและจัดทำรายงานผลการดำเนินงานด้าน การเกษตร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และด้านอื่น ๆ เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปวางแผนการบริหารงานของ กรุงเทพมหานครต่อไป
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลส้มฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลส้มฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริงแก่บุคคล หรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือให้ความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) รวบรวม จัดทำข้อมูล การจัดทำรายงานเกี่ยวกับสารสนเทศทางการเกษตร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และให้บริการข้อมูลแก่ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และผู้เกี่ยวข้อง
(๒) ให้คำปรึกษา แนะนำ จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้และให้บริการข้อมูลทางวิชาการเกษตร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แก่หน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เกษตรกร ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไป เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ปฏิบัติให้เกิดประโยชน์
(๓) ให้คำปรึกษา แนะนำ ในงานด้านวิชาการแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้สามารถ ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการเงิน การคลัง การพัสดุ การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลด้านการเงิน การคลัง การพัสดุ การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และ การงบประมาณ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกรุงเทพมหานคร
(๒) วิเคราะห์ ตรวจสอบการเบิกจ่ายฎีกาเงินงบประมาณ เงินอุดหนุนจากรัฐบาล เงินนอก งบประมาณคลังกรุงเทพมหานคร เงินผู้ และอื่น ๆ ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อความถูกต้องและเป็นไป ตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับชองทางราชการ
(๓) จัดทำรายงานการเงิน การคลัง เพื่อเสนอต่อผู้บังคับบัญชานำไปใช้ในการวิเคราะห์และ ตัดสินใจ
(๔) ให้คำปรึกษาแนะนำด้านการเงิน การคลัง แก่หน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ เพื่อให้ มีความเข้าใจที่ถูกต้อง
(๕) ศึกษาวิเคราะห์ พัฒนาระบบงานที่เกี่ยวช้องกับภารกิจหลักในด้านการเงิน การคลัง เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๖) ศึกษาวิเคราะห์ พัฒนาหลักเกณฑ์ กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติทางการเงิน การคลังที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำคู่มือ หลักเกณฑ์ต่าง ๆ
(๗) ดำเนินการเกี่ยวกับการรับจดทะเบียนพาณิชย์ และหน้าที่อื่นตามกฎหมายว่าด้วยการ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
(๘) ปฏิบัติงานด้านการพิจารณาตรวจสอบความถูกต้องของการตรวจฎีกาที่ยุ่งยากซับซ้อน ใบนำส่งเงิน ใบขอกันเงินและเอกสารการคลังอื่นๆ เพื่อให้งานดำเนินไปอย่างราบรื่นมีความถูกต้องเรียบร้อย
(๙) ควบคุมงบประมาณและการกันเงิน ขยายระยะเวลาการเบิกจ่ายเงิน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของโครงการ หน่วยงานหรือ ส่วนราชการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก1บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำปรึกษาในเบื้องต้น แก่หน่วยงานราชการ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ข้าราชการ พนักงาน เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการเงิน การคลัง การพัสดุ การบริหารหนี้ กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) สำรวจและจัดเก็บข้อมูล ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูล หรือระบบสารสนเทศเกี่ยวกับ การเงิน การคลัง การพัสดุ การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ เพื่อการประมวล วิเคราะห์ และการนำเสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แผนงานและหรือโครงการ หลักเกณฑ์ วิธีการ เกี่ยวกับงาน การเงิน การคลัง การพัสดุ การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำเอกสาร ตำรา คู่มือ สื่อ เอกสารเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้ และการทำความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานการเงิน การคลัง การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบเครือช่าย คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวช้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้อย่างราบรื่นและ สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๒) ประมวลผลและปรับปรุงแล้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยำและทันสมัย
(๓) ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความ ต้องการ และสภาพการใช้งานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) เขยนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้
เพื่อสนับถึบุน การปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) เขียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แล้ไขข้อผิดพลาดของคำสั่งเพื่อให้ระบบ ปฏิบัติการทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
(๖) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูล ของหน่วยงานหรือส่วนราชการที่ไม่ซับช้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานหรือ ส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๗) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้ได้ ระบบงานประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๘) รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่อง การติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อให์ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๙) ตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ซ่อมแซม เครื่องคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายให้สามารถ ทำงานได้ปกติ เพื่อให้การดำเนินงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ เป็นไปอย่างสะดวก ราบรื่น
(๑๐) ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เช้าช่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล
และระบบ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลส้มฤทธึ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริงแก่บุคคลหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเอง อย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) ดำเนินการฟิกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่เจ้าหน้าที่ ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
(๓) ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก้ไชและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเงินและบัญชี ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน ทั้งเงินในและเงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน เพื่อแสดงสถานะทางการเงินและใช้เป็นฐานข้อมูลที่ถูกต้องตามระเบียบวิธีการบัญชีของ หน่วยงาน หรือส่วนราชการ
(๒) รวบรวมข้อมูล และรายงานการเงินชองหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อพร้อมที่จะปรับปรุง ข้อมูลให้ถูกต้องและทันสมัย
(๓) จัดทำและจัดสรรงบประมาณแก่กรุงเทพมหานคร เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณตรงกับ ความจำเป็นและวัตถุประสงค์ชองแต่ละหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) ศึกษาวิเคราะห์ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้การใช้จ่ายเงิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ
(๔) ดูแลการรับและจ่ายเงิน สถานะทางการเงิน ตรวจสอบเอกสารสำคัญ การรับ – จ่ายเงิน เพื่อให้การรับ – จ่ายเงินขององค์กรมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติการถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติของราชการ
(๖) ถ่ายทอดความรู้ด้านการเงินและบัญชี แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เช่น ให้คำแนะนำในการ ปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตรและขิกอบรม จัดทำคู่มือประจำสำหรับการขิกอบรมและวิธีใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่ถูกต้อง เป็นต้น เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์โนการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและข้อกำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหนวยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย และผลสัมถุทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมถุทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและ ความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ งานการเงินและบัญชี เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และใช้ ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านตรวจสอบภายใน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวมและตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล ตัวเลข หลักฐานการทำ สัญญา และเอกสารต่าง ๆ ทางด้านการเงิน การบัญชี เพื่อให้การตรวจสอบดำเนินไปอย่างถูกต้องและได้ผลตรง กับหลักฐานที่เกิดขึ้นจริง
(๒) ตรวจสอบการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ การเงิน พัสดุและทรัพย์สินรวมทั้ง การบริหารด้านอื่น ๆ ของกรุงเทพมหานคร เพื่อดูแลให้การใช้งบประมาณและทรัพยากรเป็นไปอย่างประหยัด มีประสิทธิภาพสูง และตรงตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
(๓) จัดทำรายงานการตรวจสอบรายเดือน เพื่อเสนอข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะ ให้ผู้บังคับบัญชา รับทราบผลการดำเนินงาน
(๔) ร่วมวางระบบการควบคุมภายใน ให้เพียงพอเหมาะสม มีประสิทธิผล ตลอดจนปรับปรุง และรายงานผลการประเมินประสิทธิผลการควบคุมภายในตามแบบรายงานตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๔๔๔ เพื่อนำไปสู่การกำหนดแนวทางการปฏิบัติ เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงต่อไป
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธื้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมถุทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ฟิกอบรม ให้คำปรึกษา เสนอแนะวิธีการปรับปรุงการปฏิบัติงานแก่หน่วยรับตรวจ และ เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา และตอบข้อซักถามและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ พร้อมทั้งช่วย แก้ปัญหาข้อขัดแย้งในหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้การปฏิบัติงานถูกต้องและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
(๒) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจงเกี่ยวกับงานตรวจสอบภายในที่ตนรับผิดชอบในระดับ เบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์


นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการสถิติ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) จัดเตรียมรูปแบบข้อถาม แบบประมวลผล คำนิยาม ศึกษาหามาตรฐานทางสถิติ วิเคราะห์ โครงการสถิติของหน่วยสถิติอันเป็นงานด้านสถิติขั้นแรก เพื่อให้การวางแผนงานด้านสถิติขั้นต่อไปเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ
(๒) เตรียมคู่มือการวางแผนสุ่มตัวอย่างและการประมวลผล รวมทั้งวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางสถิติ เพื่อปรับปรุงการวางแผน การสุ่มตัวอย่างให้มีประสิทธิภาพ
(๓) ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล เพื่อให้ใด้ข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วน ตามความเป็นจริง
(๔) วิเคราะห์ข้อมูล แปลความ จัดทำแผนภูมิหรือแผนภาพทางสถิติ และนำเสนอเป็นรายงาน เพื่อให้การดำเนินงานมีความครบถ้วนสมบูรณ์
๒. ด้านวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ไต้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการและเผยแพร่สถิติแก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนและการตัดสินใจ
(๒) ให้คำแนะนำแก่หน่วยงานหรือส่วนราชการต่างๆ เกี่ยวกับระเบียบ วิธีทางคณิตศาสตร์ สถิติ ขั้นพื้นฐานการวิเคราะห์ข้อมูล และแนวทางการปฏิบัติงานด้านสถิติเบื้องต้น เพื่อนำไปประยุกต์ใช้เป็น ประโยชน์ในการดำเนินงานของตนเอง
(๓) ให้คำแนะนำ ปรึกษา ในงานด้านวิชาการสถิติแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาและแลกเปลี่ยน ความรู้ ความชำนาญ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ


นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านวิชาการสาธารณสุข ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย สำรวจ รวบรวม ข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้นที่ไม่ซับซ้อน เกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุข เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝัาระวังโรค การควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ และการฟืนฟูสุขภาพ เป็นต้น รวมทั้งการดูแลรักษาพยาบาล การจัดบริการสุขภาพ การสุขศึกษาและ พฤติกรรมสุขภาพพัฒนาระบบกลไกและการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข เพื่อช่วยในการเสริมสร้างระบบ การสาธารณสุขที่ดี
(๒) สรุปรายงานเกี่ยวกับการดำเนินงาน หรือรายงานการรวบรวมข้อมูลทางวิชาการ ด้านสาธารณสุขเสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อประกอบการวางแผนในการปฏิบัติงาน
(๓) ติดตามผลการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยงานด้านสาธารณสุข เพื่อนำมาใช้ ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ
(๔) ร่วมพัฒนาเนื้อหา องค์ความรู้ คุณภาพมาตรฐานเกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุข และระบบ บริการสุขภาพ โดยบูรณาการแบบองค์รวมว่าด้วยการคุ้มครองและล่งเสริมภูมิปัญญา เกี่ยวกับ งานด้านสาธารณสุขและระบบบริการสุขภาพ และจัดทำคู่มือ แนวทางปฏิบัติ เอกสารวิชาการ สื่อสุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชน มืความรู้ สามารถ ป้องกันตนเองจากโรคและภัยสุขภาพ
(๕) ปฏิบัติการในการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ การเฝืาระวังโรค รักษาเบื้องต้น และติดตามฟืนฟูสุขภาพในชุมชน ดูแลบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ที่พร้อมใช้งาน เพื่อพัฒนา ระบบบริการสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง
(๖) ช่วยจัดทำฐานข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสาธารณสุข เช่น ข้อมูลของผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง บุคลากรทางด้านบริการสุขภาพ ประชากร สถานะสุขภาพ ระบาดวิทยา เพื่อนำมาใช่ในการวิเคราะห์ในการปรับปรุง ระบบงานสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
(๗) ให้บริการคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย รักษาเบื้องต้น สอบสวนสืบสวนโรค ติดตามผู้ป่วย ผู้สัมผัส เพื่อการเฝ็าระวัง ควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้งส่งเสริมสุขภาพ และพื้นฟูสุขภาพ เพื่อให้ประชาชน มีสุขภาพที่ดี
(๘) ช่วยปฏิบัติงานส่งเสริม ควบคุม กำกับมาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมาย เกี่ยวกับการแพทย์ และสาธารณสุขและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวช้อง เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ตรวจสอบสภาพของเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพและเหมาะแก่การนำไปใช้งาน อยู่เสมอ รวมทั้งสนับสนุนงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางสาธารณสุข เพื่อให้การบริการดังกล่าว เป็นไปอย่างราบรื่น
(๒) สนับสนุนการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการหรือเทคโนโลยีแก่บุคคลภายในหน่วยงานหรือ ส่วนราชการ เพื่อเป็นความรู้และให้สามารถดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ
(๓) ให้บริการทางวิชาการ เช่น การจัดทำเอกสาร ตำรา คู่มือ เอกสาร สื่อ เผยแพรในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้และความเข้าใจในระดับต่าง ๆ ในงานด้านสาธารณสุข
(๔) ร่วมปฏิบัติการในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อให้เป็นบุคลากรที่มีความชำนาญ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) นิเทศงานด้านสาธารณสุขให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติงานในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ


นิติกรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านนิติการ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับบัญชาในการตอบข้อหารือ หรือวินิจฉัยปัญหากฎหมายเกี่ยวกับ ระเบียบของทางราชการที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุน การพิจารณาของผู้บังคับบัญชา
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัย เพื่อจัดเตรียมในการพิจารณายกร่างกฎหมาย ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับเกี่ยวกับหน่วยงานหรือส่วนราชการที่รับผิดชอบ เพื่อให้ทันกับสถานการณ์ และ อำนวยความสะดวกในการทำงาน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย
(๓) ศึกษา ด้นคว้าข้อมูล ข้อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้พิจารณาดำเนินการทางวินัย รวบรวมแสวงหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย เสนอความเห็นในการดำเนินการเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับวินัย ข้าราชการและลูกจ้าง การร้องทุกข์ การอุทธรณ์ การสืบสวนและสอบสวน และการพิทักษ์ระบบคุณธรรม รวมถึง การดำเนินการ ใด ๆ ตามกฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการ และการดำเนินคดีของหน่วยงาน หรือส่วนราชการ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และสามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
(๔) ศึกษา ด้นคว้าข้อมูล ข้อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้พิจารณาดำเนินการทางคดี เช่น คดีแพ่ง คดีอาญา คดีภาษี เป็นต้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และสามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
(๔) ปฏิบัติงานฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการด้านกฎหมาย และคณะกรรมการอื่น ๆ ที่เกี่ยวช้อง เพื่อจัดประชุมเสนอความเห็น จัดทำระเบียบวาระ และรายงานการประชุม
(๖) การดำเนินการทางคดีต่าง ๆ เช่น การบังคับคดี การฟ้องคดี การต่อสู้คดี เป็นต้น เพื่อให้ เกิดความถูกต้อง ยุติธรรม
(๗) การดำเนินการด้านนิติกรรมสัญญา เช่น ยกร่างสัญญา ตรวจทานความถูกต้องของสัญญา ร่างประกาศ หรือเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องกับงานนิติการ เพื่อให้เอกสารมีความถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์และ เป็นไปตามข้อกำหนดกฎหมายต่าง ๆ
(๘) พิจารณาคำขออนุญาตต่าง ๆ ที่ดำเนินการในเขตกรุงเทพมหานคร เช่น การติดตั้งบีาย การใช้เครื่องขยายเลียง การแจกใบปลิว เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินงานต่าง ๆ เป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย

๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำด้านกฎหมายแก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เป็นปัญหา และให้ความรู้ถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องเป็นประโยชน์กับการ ดำเนินงานของบุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการดังกล่าว
(๒) เผยแพร่ความรู้ ให้คำปรึกษาและชี้แจงตอบปัญหาด้านงานวินัย เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดี และถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย


บรรณารักษ์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานบรรณารักษ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ
มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดหา คัดเลือก วิเคราะห์ จำแนกหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และลื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทำรายการบรรณานุกรม ดัชนี สาระสังเขป และบันทึกลงฐานข้อมูล ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เพื่อเป็นแหล่งจัดเก็บและให้บริการ
(๒) ศึกษา ด้นคว้า วิธีการและเทคนิคใหม่ๆ การใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัยด้านบรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ เพื่อเสนอแนะปรับปรุงการปฏิบัติงานห้องสมุด ทั้งด้านวิชาการและการให้บริการ
(๓) จัดทำลื่อประชาสัมพันธ์การใช้ห้องสมุดและจัดกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร และส่งเสริมให้ผู้ใช้เกิดความสนใจในการเข้าใช้บริการ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ๋ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำแนะนำ และตอบคำถามเกี่ยวกับข้อมูล และการใช้ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด เพื่อให้เกิดความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ


วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมเครื่องกล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ
มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) วางโครงการ ออกแบบ คำนวณ ควบคุมการสร้างหรือการผลิต อำนวยการใช้ กำหนดมาตรฐาน ประเมินราคา ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบ หรือซ่อมบำรุง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนด
(๒) ศึกษา วิจัย พัฒนา และปรับปรุงงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้งานมีคุณภาพและมีมาตรฐานที่ดี
(๓) รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลเกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้งานมีคุณภาพและ ประสิทธิภาพที่ดี
(๔) จัดทำข้อกำหนดและรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Specifications) เกี่ยวกับงานวิศวกรรม-เครื่องกล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกลในระดับเบื้องต้น แก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ งานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจข้อมูล เพื่อออกแบบระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสาร ระบบป้องกันฟ้าผ่า ระบบสัญญาณ เดือนอัคคีภัย และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมไฟฟ้า
(๒) ศึกษาและกำหนดรูปํแบบรายการ เพื่อให้ได้มาซึ่งรายละเอียดในการก่อสร้าง การผลิต การควบคุม การติดตั้ง และการประมาณราคาในงานวิศวกรรมไฟฟ้า
(๓) ควบคุมการก่อสร้าง ติดตั้ง บำรุงรักษาระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสาร ระบบป้องกันฟ้าผ่า ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อให้ระบบมีความถูกต้อง บลอดภัย ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๔) ตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนางานวิศวกรรมไฟฟ้าให้มีความถูกต้อง ปลอดภัยและ ประหยัดพลังงาน
(๕) จัดทำรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะเกี่ยวกับงานวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อประโยชน์สูงสุด ในการใช้งานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจร่งุ แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้ข้อมูล ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมไฟฟ้าที่รับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นให้กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและ ความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ งานวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และใช้ประกอบ การพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมไฟฟ้า และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่


สถาปนิกปฏิบัติการ

หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อการกำหนดรายละเอียดโครงการทางสฺถาปัตยกรรมหลัก รวมทั้งการออกแบบวางผังเมืองประเภทต่าง ๆ และการเสนอโครงการพัฒนาเมือง
(๒) จัดทำแบบงานปรับปรุงซ่อมแซมและต่อเดิม รวมถึงงานอนุรักษ์ ทางสถาปัตยกรรมหลัก จัดทำงบประมาณ ราคาค่าก่อสร้าง เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการพื้นที่ใช้สอยฃองหน่วยงานหรือส่วนราชการ และให้ได้สถาปัตยกรรมที่มีความเหมาะสม ประหยัด สอดคล้องตามข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(๓) ออกแบบวางผังสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ กลุ่มอาคาร ชุมชนและเมือง รวมทั้ง การจัดรูปที่ดิน เพื่อไห้ชุมชนน่าอยู่และมีสภาพแวดล้อมที่ดี
(๔) ควบคุมการก่อสร้าง ปรับปรุงซ่อมแซมและต่อเดิม รวมถึงงานอนุรักษ์ทางสถาปัตยกรรมหลัก เพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบและรายการที่กำหนด
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ข้อมูล จัดทำคู่มือ เกณฑ์ มาตรฐาน แนวทาง เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และการออกแบบทางสถาปัตยกรรมหลัก
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก,บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำ ตอบปัญหาชี้แจงและแก้ไขปัญหาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างถูกต้อง
(๒) จัดเก็บข้อมูลและสถิติเบื้องต้น เพื่อปรับปรุงหรือจัดทำฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม และหรือ งานอนุรักษ์ เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานหรือ ส่วนราชการ และใช้ประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรฐานต่าง ๆ
(๓) ตรวจสอบความถูกต้องของแบบด้านสถาปัตยกรรมหลักเบื้องต้น ซึ่งจัดทำโดยเอกชน หน่วยงานหรือส่วนราชการอื่น เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) ให้ความรู้ด้านวิชาการทางสถาปัตยกรรมระดับต้นทุกสาขาแก่บุคคลทั่วไป หน่วยงานหรือ ส่วนราชการต่าง ๆ
(๕) ร่วมเป็นกรรมการตรวจการจ้างที่เกี่ยวช้องกับงานสถาปัตยกรรมหลัก เพื่อให้เป็นไปตาม มาตรฐาน หลักเกณฑ์ที่กำหนด

วิชาที่สอบ

เจ้าหน้าที่งานรักษาความสะอาดปฏิบัติงาน

๑    . ความรู้เกี่ยวกับงานด้านการรักษาความสะอาด ได้แก่
–    การควบคุมการเก็บขนมูลฝอย การกวาด การขนถ่ายสิ่งปฏิกูลและไขมัน
–    อัตราค่าธรรมเนียมและค่าบริการ
–    การให้บริการแก่ประชาชน
–    ประเภทมูลฝอยและประเภทภาชนะรองรับมูลฝอย
–    การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมือง การลดปริมาณมูลฝอย และการดูแลพื้นที่สีเจียว
–    การให้บริการเก็บขนไขมัน ของเลียอันตรายและสิ่งเปรอะเปือนในเขตกรุงเทพมหานคร
๒. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
–    พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและพนักงานเจ้าหน้าที่
–    พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก่ไขเพิ่มเดิมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและพนักงานเจ้าหน้าที่
–    พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
–    กฎกระทรวงว่าด้วยอัตราค่าธรรมเนียมการให้บริการเก็บ ขน และกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย และอัตราค่าธรรมเนียมอื่น ๆ พ.ศ. ๒๕๔๕
–    กฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. ๒๕๖๐
–    กฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการสิ่งปฏิกูล พ.ศ. ๒๕๖๑
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การเก็บ ขน และกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย พ.ศ. ๒๕๔๔
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ค่าธรรมเนียมการเก็บและขนสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย
ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ค่าธรรมเนียมการให้บริการในการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๒
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ค่าบริการ พ.ศ. ๒๕๔๓ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
–    ข้อบังคับกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลของอาคาร สถานที่ และสถานบริการการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๔๕
–    นโยบายของกรุงเทพมหานครด้านการรักษาความสะอาดและพื้นที่ลีเขียว


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

ความรู้เกี่ยวกับงานด้านช่างไฟฟ้า ได้แก่ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนแบบ อ่านแบบไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ การประมาณราคา การควบคุมงานและติดตั้งวัสดุ อุปกรณ์ ปรับปรุง ซ่อม และบำรุงรักษา งานด้านการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าเบื้องต้น หรืออุปกรณ์ทางไฟฟ้าอื่น ๆ งานระบบไฟฟ้าสื่อสาร ระบบเครือข่าย-คอมพิวเตอร์ ระบบเครื่องตรวจวัด ระบบพลังงานทดแทนและการประหยัดพลังงานทางไฟฟ้า การคำนวณหาขนาด วัสดุ อุปกรณ์ในงานระบบไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ การตรวจสอบ และจัดทำแผนการซ่อมบำรุง ดูแล รักษา วัสดุอุปกรณ์ในงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งจัดทะเบียน รวบรวมและเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

๑. งานสำรวจเบื้องต้น ได้แก่ การทำระดับ การวัดระยะ การคิดพื้นที่
๒. งานเขียนแบบเบื้องต้น ได้แก่ ถนน พื้นที่อาคาร การกำหนดรายละเอียดเบื้องต้น เช่น แนวท่อ แนวถนน แผนผังอาคาร เป็นต้น
๓. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๔๔
๔. งานถอดแบบ และประมาณราคาอาคาร สิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ
๕. งานควบคุมการก่อสร้าง เช่น บ้าน เขื่อน ถนน และรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง


เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านระบบงานคอมพิวเตอร์ ได้แก่
–    การติดตั้ง ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข และดูแลบำรุงรักษา เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพพร้อมใช้งาน
–    การจัดทำ รวบรวม วิเคราะห์วิธีการและลำดับของการประมวลผลและปรับปรุงแก้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มีความถูกต้อง
–    การรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ความต้องการของระบบงาน และระบบข้อมูลภายในหน่วยงาน เพื่อพัฒนา ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและตรงตามความต้องการของหน่วยงาน
–    การวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ การให้คำแนะนำ แก้ไขปัญหาการใช้ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงโปรแกรมประยุกต์
–    ความรู้ด้านกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล


นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

๑. ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาการจัดการงานทั่วไป ได้แก่
–    การบรหารทรัพยากรบุคคลเบื้องต้น
–    การพัสดุเบื้องต้น
–    การบริหารการประชุม
–    การบริหารอาคารสถานที่เบื้องต้น
–    การเลขานุการเบื้องต้น
–    งานสารบรรณ
–    การจัดทำรายงาน การติดตามงานและสรุปรายงาน
–    การผิกอบรม ประชุม สัมมนา การจัดงาน และการจัดกิจกรรม
๒. ความรู้ความเข้าใจเกยวกับ
–    หลักการเขียนหนังสือราชการ
–    หลักการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ การจัดทำแผนงานและโครงการ การบริหารแผนปฏิบัติราชการ
–    หลักการประสานงาน การทำงานเป็นทีม การติดต่อสื่อสาร การสร้างความเข้าใจ
๓. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
–    พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔


นักจัดการงานรักษาความสะอาดปฏิบัติการ

๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านการรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ ได้แก่
–    การจัดการมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและไขมัน
–    การรักษาสภาวะแวดล้อม
–    การส่งเสริมและสร้างการมีส่วนร่วมในเรื่องการลดปริมาณมูลฝอยและการเพิ่มพื้นที่สีเขียว
–    การจัดเก็บค่าธรรมเนียมเก็บขนมูลฝอย และค่าบริการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้าน การรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ
–    โครงการ/แผนงาน/นโยบาย ด้านการรักษาความสะอาด และด้านการดูแลรักษาพื้นที่ลีเขียว
–    การควบคุม ตรวจสอบ กำกับดูแล การรักษาความสะอาดที่สาธารณะและสิ่งก่อสร้างสาธารณูปโภค ต่าง ๆ
–    การนำระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี การพัฒนานวัตกรรมมาใช้กับงาน ด้านการรักษาความสะอาด
และสวนสาธารณะ
๒. กฎหมายที่เกี่ยวช้อง ได้แก่
–    พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม ในส่วนที่เกี่ยวช้องกับ อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและพนักงานเจ้าหน้าที่
–    พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกํไขเพิ่มเดิมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นและพนักงานเจ้าหน้าที่
–    พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
–    กฎกระทรวงว่าด้วยอัตราค่าธรรมเนียมการให้บริการเก็บ ขน และกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย และอัตราค่าธรรมเนียมอื่น ๆ พ.ศ. ๒๕๔๕
–    กฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. ๒๕๖๐
–    กฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการสิ่งปฏิกูล พ.ศ. ๒๕๖๑
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การเก็บ ขน และกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย พ.ศ. ๒๕๔๔
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ค่าธรรมเนียมการเก็บและขนสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย
ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ค่าธรรมเนียมการให้บริการในการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๒
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ค่าบริการ พ.ศ. ๒๕๔๓ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    ข้อบังคับกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลของอาคาร สถานที่ และสถานบริการการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๔๕
– นโยบายของกรุงเทพมหานครด้านการรักษาความสะอาดและพื้นที่ลีเขียว


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

๑. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔
๒. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร-
ทรัพยากรบุคคล
๓. แผนยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐
๔. การวางแผนกำลังคน การปรับปรุงโครงสร้างและอตรากำลัง
๕. การกำหนดตำแหน่ง มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และระบบการจำแนกตำแหน่ง
๖. การสรรหาและเลือกสรรบุคคล
๗. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และการฟิกอบรม
๘. การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management)
๙. การเลื่อนเงินเดือน การไห้Iด้รับเงินเดือน และเงินประจำตำแหน่ง
๑๐. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูล เช่น การลา การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การได้รับบำเหน็จบำนาญ เป็นต้น
๑๑. การดำเนินการทางวินัยและการออกจากราชการ


นักบัญชีปฏิบัติการ

๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ
การวิเคราะห์งบการเงิน
๒. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
–    พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
–    พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
–    ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
และกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการกำหนดประเภทรายรับ – รายจ่าย และการปฏิบัติเกี่ยวกับ งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๓ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน
และการตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๕๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
–    มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม


นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

–    ความรู้เกี่ยวกับการงบประมาณตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
และพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
–    ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง และการงบประมาณ
–    ความรู้เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
และแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี
–    หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ วิเคราะห์ บริหาร ควบคุม ตรวจสอบ ติดตาม
และประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณของกรุงเทพมหานคร


นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ

๑. หลักพฤกษศาสตร์ การจำแนกพืช
๒. การปลูก ดูแลบำรุงรักษา การตัดแต่ง การคํ้ายัน และการล้อมย้าย
๓. การปรับปรุงพันธุพืชและการขยายพันธุพืช
๔. การปรับปรุงวิธีการผลิตพืชโดยใช้เทคโนโลยีทางการเกษตร
๕. การใช้ปุย ฮอร์โมน การอารักขาพืช
๖. การปรับปรุงดินและนํ้าเพื่อการเกษตร
๗. การดูแลและเก็บรักษาผลผลิต
๘. ธุรกิจการเกษตร การเพิ่มมูลค่าผลผลิต และแหล่งผลิตทางการเกษตร
๙. การส่งเสริมเผยแพร่ความรู้ด้านวิชาการ และเทคโนโลยีทางการเกษตร
๑๐. การออกแบบ ปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมืองเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี และการจัดการพื้นที่ลีเขียวในเมือง
๑๑. การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่
๑๒. เครื่องจักรกลการเกษตร และอุปกรณ์การเกษตรประเภทต่าง ๆ
๑๓. เทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร และการนำนวัตกรรมมาใช้
๑๔. การส่งเสริมเกษตรปลอดสารพิษ เกษตรยั่งยืน เกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสาน
๑๕. การส่งเสริมการทำเกษตรในเมือง เกษตรอัจฉริยะ


นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการเงิน การคลัง การพัสดุ การบริหารหนี้กรุงเทพมหานคร และการงบประมาณ ได้แก่
–    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐกิจ การเงินการคลัง และงบประมาณ
–    พระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
–    พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
–    กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
–    ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการกำหนดประเภทรายรับ – รายจ่าย และการปฏิบัติเกี่ยวกับ งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๓ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๕๕ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

๑. ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
๒. พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ และการนำไปประยุกต์ใช้
๓. การนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาประยุกต์ใช้
๔. การบริหารจัดการโครงการด้านสารสนเทศ (Project Management)
๕. การวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบสารสนเทศ
๖. ระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล (Database Management)
๗. ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication)


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ
๑.๑ ด้านการเงิน การเบิกเงิน การจ่ายเงิน การรับเงิน การนำส่งเงิน การเก็บรักษาเงิน การตรวจ
และอนุมัติฎีกา
๑.๒ ด้านการบัญชี การจัดทำงบการเงิน งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร หลักการบัญชีคู่ ตรวจสอบบัญชีการเงินเบื้องต้น
๑.๓ ด้านการงบประมาณ และการบริหารงบประมาณ
๑.๔ ด้านการจัดหาพัสดุ และการบริหารพัสดุ
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
๒.๑ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๒ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๓ ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๒.๔ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการกำหนดประเภทรายรับ – รายจ่าย และการปฏิบัติเกี่ยวกับ งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๓ และที่แกํไขเพิ่มเดิม (ยกเว้นหลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
ตามงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน)
๒.๕ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๕๕ และที่แล้ไขเพิ่มเดิม


นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เบื้องต้นด้านการบัญชีและงบประมาณ
๒. ความรู้เบื้องต้นด้านการตรวจสอบภายใน
๓. ความรู้เบื้องต้นด้านการบริหารความเสี่ยง
๔. ความรู้เบื้องต้นด้านการควบคุมภายใน
๕. ความรู้เบื้องต้นด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี หรือธรรมาภิบาล
๖. ความรู้เบื้องต้นด้านการทุจริต
๗. ความรู้เบื้องต้นด้านคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในด้านการตรวจสอบ
๘. กฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับ,ที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ได้แก่
– พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
– หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายใน สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
– หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน
สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
– หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการ
ความเสี่ยงสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๒


นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับงานด้านวิชาการสถิติ ดังนี้
–    การจัดเก็บ/รวบรวมข้อมูลสถิติ การจัดทำฐานข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ ประมวลผล แปลความหมายข้อมูล จัดทำแผนภูมิหรือแผนภาพทางสถิติและนำเสนอเป็นรายงาน
–    การกำหนดและจัดทำแบบสอบถามตามหลักวิชาการตรงตามวัตถุประสงค์และเนื้อหาที่กำหนด การสุ่มตัวอย่างตามหลักวิชาการและการประมวลผล รวมทั้งการวิเคราะห์ค่าสถิติ
–    ความรู้ความสามารถในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ใช้โปรแกรมในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ได้อย่างเหมาะสม
–    ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติสถิติ พ.ศ. ๒๕๕๐
–    ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
–    ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒


นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

๑. ความรู้เกี่ยวกับงานวิชาการสาธารณสุข ระบบบริการสุขภาพและการพัฒนางานได้แก่ การวางแผน ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย สำรวจ รวบรวม ข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ็าระวัง ควบคุม และป้องกันโรคและภัยคุกคามสุขภาพ การพื่นฟูสุขภาพ การดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้น การช่วยพิ่นคืนชีพ (CPR) การจัดบริการสุขภาพ การสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ การบริหารงานสาธารณสุขเบื้องต้น การจัดทำแผนงาน โครงการด้านสาธารณสุข การนิเทศ ติดตามประเมินผล การบริการคัดกรองตรวจวินิจฉัยการรักษาเบื้องต้น การสอบสวนโรคติดตามผู้ป่วยผู้สัมผัสโรค การจัดทำเอกสารวิชาการ สื่อสุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ การจัดทำ ฐานข้อมูลสาธารณสุขเพื่อสร้างความเข้าใจในการมีส่วนร่วมของประชาชน
๒. กฎหมายและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสาธารณสุข ได้แก่
–    พระราขบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
–    พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติป้องกันและแก่ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยร่น พ.ศ. ๒๕๕๙
–    พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑
–    พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
–    พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๒
–    พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐


นิติกรปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายพื้นฐาน ได้แก่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ประมวลกฎหมายอาญา และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
๒. ความรู้ความเข้าใจอย่างดียิ่งในเนื้อหาของกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงในการปฏิบัติราชการ
ของกรุงเทพมหานคร
–    พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘
–    พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔
–    พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
–    พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗
–    พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
–    พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
–    พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
–    พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางรไชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
–    พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
–    พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
–    พระราชบัณณัดิว่าด้วยการปรับเป็นพินัย พ.ศ. ๒๕๖๕


บรรณารักษ์ปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ทางบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
๒. ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร แหล่งเรียนรู้สำหรับเด็กและครอบครัว ของกรุงเทพมหานคร และห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
๓. การบริหารจัดการห้องสมุดสมัยใหม่และแหล่งเรียนรู้ ด้านบุคลากร อาคารสถานที่ งบประมาณ การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ การประชาสัมพันธ์ การประสานงาน และการสร้างเครือข่าย
๔. การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการประยุกต์ใช้
๔. การบริหารงานบริการห้องสมุดสมัยใหม่และแหล่งเรียนรู้ การส่งเสริมการใช้ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ การออกแบบและวางแผนการจัดกิจกรรมล่งเสริมการเรียนรู้
๖. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารชองราชการ พ.ศ. ๒๔๔๐
๗. พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๔๖๒


วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
การวางแผน การออกแบบและคำนวณ ด้านวิศวกรรมเครื่องกล การประเมินค่าของงาน การติดตั้ง ทดลอง ดูแล บำรุงรักษาเกี่ยวกับงานด้านวิศวกรรมเครื่องกล งานวิจัย พัฒนาและปรับปรุงงานวิศวกรรมเครื่องกล การจัดทำข้อกำหนด รายละเอียดของพัสดุ อุปกรณ์ สำหรับจัดหามาใซ้งาน การจัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น สถิติ การจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล การให้คำปรึกษาแนะนำที่เกี่ยวข้อง กับงานในหน้าที่กับผู้รับบริการหรือประชาชนทั่วไป ควบคุมการสร้าง การผลิตงานด้านวิศวกรรมเครื่องกล พัฒนาระบบติดตั้ง ระบบซ่อมบำรุงด้านวิศวกรรมเครื่องกล มีความรู้วิศวกรรมการจัดการด้านเครื่องกล พลังงาน พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๔๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาขีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๔๔๔ กฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุม พ.ศ. ๒๔๖๔ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล


วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
การวางแผน การออกแบบ การคำนวณ การควบคุมการก่อสร้าง การกำหนดรูปแบบรายการ การติดตั้ง การบำรุงรักษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนา การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ เกี่ยวกับงานด้านอุปกรณ์ไฟฟ้า งานด้านระบบไฟฟ้า งานด้านระบบสื่อสาร งานด้านระบบป้องกันฟ้าผ่า งานด้านระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย งานด้านวัสดุอุปกรณ์ งานด้านเมคคาทรอนิกส์ งานด้านอิเล็กทรอนิกส์ งานด้านสื่อสารและเทคโนโลยี งานด้านพลังงานทดแทน งานด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมไฟฟ้า


สถาปนิกปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. การออกแบบสถาปัตยกรรมหลัก การออกแบบวางผังบริเวณ (Site Planning) และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การจัดพื้นที่ประโยชน์ใช้สอยภายในอาคาร การปรับปรุงซ่อมแซม และดัดแปลง อาคารให้สอดคล้อง กับความต้องการของหน่วยงานโดยไม่ขัดกับกฎหมายที่เกี่ยวช้อง
๒. การพัฒนาเมืองและการออกแบบชุมชนเมือง โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน และสอดคล้อง
กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
๓. เทคโนโลยีการก่อสร้าง การเลือกใช้วัสดุ การประมาณราคาเบื้องต้นให้สอดคล้องกับความต้องการ ของผู้ใซ้อาคาร โดยพิจารณาถึงความเหมาะสม คุ้มค่า ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔. การควบคุมงานก่อสร้างอาคาร การปรับปรุงซ่อมแซมและดัดแปลงอาคาร เพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบ และรายการที่กำหนด โดยอยู่ในงบประมาณที่ได้รับ และคำนึงถึงหลักวิศวกรรม ความมั่นคงแข็งแรง
ของอาคาร
๕. ความรู้ด้านการจัดทำแบบก่อสร้าง และเอกสารประกอบ เช่น การกำหนดรายการก่อสร้าง
รวมถึงความรู้ด้านเทคโนโลยีเกี่ยวกับแบบก่อสร้าง และการนำเสนอผลงานให้มีความเข้าใจง่าย สมบูรณ์ ถูกต้อง

 

วิธีการสมัครงานข้าราชการ กทม.  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 17 มิ.ย. – 28 มิ.ย. 2567 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัครกทม.

ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร