กรมธุรกิจพลังงาน เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ 25 ก.ค. -17 ส.ค. 2565 รวม 13 อัตรา,

แชร์เลย

กรมธุรกิจพลังงานเปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการกรมธุรกิจพลังงานเปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ

กรมธุรกิจพลังงาน

ลิงค์: https://ehenx.com/17323/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิชาการสิ่งแวดล้อม,วิศวกร,วิศวกรไฟฟ้า,วิศวกรโยธา,นายช่างเทคนิค,เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 13,800-19,500
อัตราว่าง: 13
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 25 ก.ค. – 17 ส.ค. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ



กรมธุรกิจพลังงาน เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน

เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป

ด้วยกรมธุรกิจพลังงาน ประสงค์จะรับสมัครบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการทั่วไป ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การสรรหา และเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงาน และการจัดกรอบอัตรากำลังพนักงานราขการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ และประกาศคณะ กรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงาน และการจัดกรอบ อัตรากำลังพนักงานราขการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ ประกาศคณะกรรมการบริหาร พนักงานราชการ เรื่อง ค่าตอบแทนของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ และประกาศ คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง ค่าตอบแทนของพนักงานราชการ (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และหนังสือคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ ด่วนที่สุด ที่ นร ๑๐๐๘.๕/๒๔๒ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๓ จึงประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเสือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

นักวิชาการสิ่งแวดล้อม

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกร

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรไฟฟ้า

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 19500- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรโยธา

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 19500- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นายช่างเทคนิค

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

นักวิชาการสิ่งแวดล้อม

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นทีเทียบได้ ในระดับเดียวกันด้านสิ่งแวดล้อม สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ หรือสาขาวิชาสิ่งแวดล้อม หรือสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม หรือสาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม หรือสาขานิเวศน์วิทยา หรือสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์สิงแวดล้อม หรือสาขาวิชา สุขาภิบาล หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม หรือสาขาวิชาวิทยาการ สิ่งแวดล้อมและทร์พยากรธรรมชาติ หรือสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์


วิศวกร

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ใน ระดับเดียวกันในสา4ขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์


วิศวกรไฟฟ้า

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอนทีเทียบได้ ในระดับเดียวกินในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมไฟท้า และได้รับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ระดับภาคีวิศวกรขึ้นไป


วิศวกรโยธา

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นทีเทียบได้ ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมโยธา และได้รับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ระดับภาคีวิศวกรขึ้นไป


นายช่างเทคนิค

ได้รับประกาศบียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปาส.) หรือคุณวุฒิ อย่างอื่นทีเทียบไดในระดับเดียวกันในสาขาวิชาไฟฟ้า หรือสาขาวิชาเครืองกล หรือสาชาวิชาเทคนิคเครืองกล หรือสาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม หรือสาขาวิชา อิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาวิชาช่างยนต์ หรือสาขาวิชา ช่างกลโรงงาน หรือสาขาวิชาช่างโยธา หรือสาชาวิชา ช่างสำรวจ หรือสาขาวิชาช่างก่อสร้าง


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปาส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นทีเทียบได้ในระดับเดียากันใน สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล หรือสาชาวิชาเทคนิค อุตสาหกรรม หรือสาขาวิชาช่างยนต์ หรือสาขาวิชา ช่างกลโรงงาน

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

นักวิชาการสิ่งแวดล้อม

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ
๑. ตรวจสอบรายงานด้านสิ่งแวดล้อม และรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิงแวดล้อมโครงการระบบการขนส,งก๊าซธรรมชาติทางทอประกอบการออกใบอนุญาต การประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ ๓
๒. ตรวจติดตามการปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน แก้ไข ลด ติดตาม และตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่ระบุไวิในรายงานด้านสิงแวดล้อม
๓. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมของระบบ การขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อในแต่ละโครงการ โดยให้เป็นไปตามกฎกระทรวง ระบบการขนส่งก๊าชธรรมชาติทางท่อ พ.ศ. ๒๕๕๖
๔. การจัดทำข้อมูลสถิติต่างๆ เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ประกอบในการพิจารณา อนุญาตประกอบกิจการของผู้ประกอบกิจการระบบการขนส่งก๊าชธรรมชาติ ทางท่อ และคลังก๊าชธรรมชาติ ดำเนินการตรวจสอบพื้นที่เพื่อประกอบการ พิจารณาการประกาศเขตระบบการขนส่งก๊าชธรรมชาติทางท่อตามมาตรา ๒๒ วรรคสี่ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒
๕. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย


วิศวกร

๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ส,งเสริมและการกำหนดมาตรฐานระบบความปลอดภัยเกียวกับ การประกอบกิจการนํ้ามันเชื้อเพลิง การกำกับดูแลการประกอบกิจการควบคุม เกี่ยวกับกิจการนํ้ามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิง การกำกับดูแลการขนส่งกิจการนํ้ามันเชื้อเพลิงให้ปลอดภัย
(๒) การส,งเสริมการมีส่วนร่วมของหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน ในการตรวจสอบและรับรองคุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัยตามที่กฎหมาย ว่าด้วยการควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิงกำหนด
(๓) ตรวจสอบและรับรองมาตรฐานความปลอดภัย การวิจัยและพัฒนา เทคนิคพลังงาน ในการผลิตการเก็บรักษา การขนส่ง และอุปกรณ์ทีใช้ ในการประกอบกิจการนํ้ามันเชื้อเพลิง
(๔) สาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกียวกับงานวิศวกรรม โดยประยุกต์ เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มศักยภาพการมีส่วนร่วมในงานวิศวกรรม
(๕) ตรวจสอบ ควบคุม กำกับ ดูแล การประกอบกิจการ เพ้อให้การ ดำเนินงานของสถานประกอบการถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่วางไว้
(๖) ตรวจสอบ การขอจดทะเบียน การแจ้ง การขออนุญาต ทั่ง ขยาย ย้าย ยกเลิก ต่อใบอนุญาต การประกอบกิจการ เพ้อให้การประกอบกิจการเป็นไป ตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้
(๗) ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล เพ้อการพัฒนาและปรับปรุง ประสิทธิภาพการทำงาน


วิศวกรไฟฟ้า

ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับ
๑. การตรวจสอบและรับรองงานวิศวกรรมที,เกี่ยวข้องตามพระราชบัญญัติ ควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม รวมถึงอนุบัญญัติ ที่เกี่ยวข้อง
๒. กำกับดูแลด้านความปลอดภัยของสถานประกอบกิจการนํ้ามันเชื้อเพลิง
๓. การรับรองคุณสมบัติการเป็นผู้ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมทีเกี่ยวกับ นํ้ามันเชื้อเพลิงด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
๔.การตรวจสอบผลการดำเนินงานด้านวิศวกรรมของผู้ปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวกับนํ้ามันเชื้อเพลิงด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
๕. การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานด้านวิศวกรรม ของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับนํ้ามันเชื้อเพลิงด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
๖. การพัฒนาระบบงานวิศวกรรมไฟฟ้า โดยเน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศสมัยใหม่
๗. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย


วิศวกรโยธา

ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับ
(๑) การตรวจสอบรายละเอียดด้านเทคนิคเบื่องต้นของการอนุญาต การประกอบกิจการสถานีบริการนํ้ามัน
(๒) ตรวจแบบก่อสร้าง รายการคำนวณ และเอกสารประกอบเพื่อการ อนุญาตให้เป็นไปตามหลักวิชาการและกฎหมายว่าด้วยการควบคุม นํ้ามันเชื้อเพลิง
(๓) ตรวจสอบสถานทีก่อสร้าง ตรวจตราสถานีบริการนํ้ามันให้เป็นไป ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิง
(๔) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างเทคนิค

ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับ
๑. ตรวจสอบรายละเอียดด้านเทคนิคเบื่องต้นของการอนุญาต การประกอบกิจการนํ้ามันเชื้อเพลิง
๒. ตรวจแบบก่อสร้าง และเอกสารประกอบเพื่อการอนุญาตให้เป็นไป ตามหลักวิชาการและกฎหมายว่าด้วยการควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิง
๓. ตรวจสอบและตรวจตราสถานประกอบกิจการนํ้ามันเชี้อเพลิง ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิง
๔. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์

ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับ
๑. ปฏิบัติงานช่วยนักวิทยาศาสตร์ตรวจวิเคราะห์และตรวจสอบ คุณภาพนํ้ามันเชื้อเพลิงในห้องปฏิบัติการ
๒. ซ่อมบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพ นํ้ามันเชื้อเพลิง
๓. ดูแลระบบการทำงานเครืองยนต์และตรวจสอบหาค่าออกเทน และซีเทนช่วยจัดเก็บตัวอย่างนํ้ามัน
๔. จัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพนํ้ามัน
๕. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

วิชาที่สอบ

นักวิชาการสิ่งแวดล้อม

การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (จำนวน ๒๐๐ คะแนน)        
หลักสูตรในการประเมิน    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
๑. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ๑.๑ วิชาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (๔๐ คะแนน) ประกอบด้วย –    การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา ได้แก่ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ความเช้าใจในการอ่าน ภาษาไทย การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การดีความจากบทความ ข้อความ หรือสถานการณ์ต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรมได้แก การคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำ ข้อความหรือรูปภาพ ตลอดจนการหาข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ รูปภาพ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ ได้แก่ ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด และแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น การเปรียบเทียบและวิเคราะห์เชิงปริมาณ ตลอดจนการประเมิน ความเพียงพอของข้อมูล ๑.๒ วิชาภาษาอังกฤษ (๒๐ คะแนน) –    ความเข้าใจด้านการสื่อสาร –    ความสามารถด้านการอ่าน –    ความสามารถด้านการเขียน ๑.๓ วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี (๔๐ คะแนน) –    ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน –    หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี –    วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง –    หน้าที่และความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ –    เจตคติและจริยธรรมสำหรับข้าราชการ    ๑๐๐    สอบข้อเขียน
๒. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (ภาค ข.) ๒.๑ ความรู้ทั่วไปด้านสิ่งแวดล้อม –    ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม –    ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๓๔ และพระราชบัญญัติล่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๖๑ –    ความรู้เกี่ยวกับการเฝ็าระวัง ติดตาม ตรวจสอบและวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม –    ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อม –    หลักการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒.๒ ความรู้เฉพาะสำหรับการปฏิบัติงาน –    ความรู้เกี่ยวกับกฎกระทรวงระบบการขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อ พ.ศ. ๒๔๔๖ –    ความรู้เกี่ยวกับประกาศกระทรวงพลังงาน เรือง การกำหนดประเภทและขนาดของระบบ การขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อ และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางในการจัดทำ รายงานด้านสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๔๔๖ –    ความรู้เกี่ยวกับประกาศกระทรวงพลังงาน เรือง หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางในการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการบ้องกัน แก้ไข ลด ติดตาม และตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมระบบการขนล่งก๊าชธรรมชาติทางท่อ พ.ศ. ๒๔๔๖ –    กฎกระทรวงการรับฟ้งความเห็นของประชาชนสำหรับโครงการระบบการขนส่ง ก๊าซธรรมชาติทางท่อ พ.ศ. ๒๔๖๔    ๑๐๐    สอบข้อเขียนการประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (สอบสัมภาษณ์) ครั้งที่ ๒ (จำนวน ๑๐๐ คะแนน)        
หลักสูตรหลักสูตรในการประเมิน    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
การประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค.) ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฎของผู้เข้ารับการสอบ และจากการสัมภาษณ์พิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความร้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ทวงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ และทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์และการสื่อสาร ทั้งนี้ กรมธุรกิจพลังงานจะดำเนินการประเมินสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ก่อน โดยผู้ได้รับคะแนนรวมการประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ ไม,ตากว่าร้อยละ ๖๐ จะเป็นผู้มีสิทธิ เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (สอบสัมภาษณ์) ต่อไป    ๑๐๐    สอบสัมภาษณ์


วิศวกร

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ

การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (จำนวน ๒๐๐ คะแนน)        
หลักสูตรในการเลือกสรร    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
๑. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ๑.๑ วิชาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (๔๐ คะแนน) ประกอบด้วย –    การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา ได้แก่ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ความเช้าใจในการอ่าน ภาษาไทย การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การดีความจากบทความ ข้อความ หรือสถานการณ์ต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรมได้แก่ การคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำ ข้อความหรือรูปภาพ ตลอดจนการหาข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ รูปภาพ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ ได้แก่ ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด และแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น การเปรียบเทียบและวิเคราะห์เชิงปริมาณ ตลอดจนการประเมิน ความเพียงพอของข้อมูล ๑.๒ วิชาภาษาอังกฤษ (๒๐ คะแนน) –    ความเข้าใจด้านการลื่อสาร –    ความสามารถด้านการอ่าน –    ความสามารถด้านการเขียน ๑.๓ วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี (๔๐ คะแนน) –    ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน –    หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี –    วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง –    หน้าที่และความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ –    เจตคติและจริยธรรมสำหรับข้าราชการ    ๑๐๐    สอบข้อเขียน
๒. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (ภาค ช.) ๒.๑ ความรู้พื้นฐานด้านวิศวกรรม และความรู้ด้านวิศวกรรมความปลอดภัย ๒.๒ ความรู้เกี่ยวกับนํ้ามันเชื้อเพลิง (นํ้ามัน, NGV, LPG) ๒.๓ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม รวมถึงอนุบัญญัติและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง    ๑๐๐    สอบข้อเขียน
การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (สอบสัมภาษณ์) ครั้งที่ ๒ (จำนวน ๑๐๐ คะแนน)        
หลักสูตรหลักสูตรในการประเมิน    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
การประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค.) ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฎของผู้เข้ารับการสอบ และจากการสัมภาษณ์พิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท,วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ และทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพ มบุษยสัมพันธ์และการลื่อสาร ทั้งนี้ กรมธุรกิจพลังงานจะดำเนินการประเมินสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ก่อน โดยผู้ได้รับคะแนนรวมการประเมินสมรรถนะครั้งที๑ ไม,ตากว่าร้อยละ ๖๐ จะเป็นผู้มีสิทธิ เช้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (สอบสัมภาษณ์) ต่อไป    ๑๐๐    สอบสัมภาษณ์


วิศวกรไฟฟ้า

การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (จำนวน ๒๐๐ คะแนน)        
หลักสูตรในการประเมิน    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
๑. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ๑.๑ วิชาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (๔๐ คะแนน) ประกอบด้วย –    การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา ได้แก่ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ความเข้าใจในการอ่าน ภาษาไทย การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การดีความจากบทความ ข้อความ หรือสถานการณ์ต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรมได้แก่ การคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำข้อความหรือรูปภาพ ตลอดจนการหาข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ รูปภาพ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ ได้แก่ ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด และแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น การเปรียบเทียบและวิเคราะห์เชิงปริมาณ ตลอดจนการประเมิน ความเพียงพอของข้อมูล ๑.๒ วิชาภาษาอังกฤษ (๒๐ คะแนน) –    ความเข้าใจด้านการสื่อสาร –    ความสามารถด้านการอ่าน –    ความสามารถด้านการเขียน ๑.๓ วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี (๔๐ คะแนน) –    ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน –    หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี –    วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง –    หน้าที่และความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ –    เจตคติและจริยธรรมสำหรับข้าราชการ    ๑๐๐    สอบข้อเขียน
๒. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (ภาค ข.) ๒.๑ ความรู้พนฐานด้านวิศวกรรม และความรู้ด้านวิศวกรรมความปลอดภัย ๒.๒ ความรู้เกี่ยวกับนํ้ามันเชื้อเพลิง (นํ้ามัน, NGV, LPG) ๒.๓ ความรู้เกี่ยวกับวิศวกรรมไฟฟ้า –    ระบบไฟฟ้าในสถานประกอบกิจการนี้ามันเชื้อเพลิง –    ความรู้มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมไฟฟ้า ๒.๔ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญติควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แกิไขเพิ่มเดิมรวมถึง อนุบัญญัติและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง    ๑๐๐    สอบข้อเขียน
การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (สอบสัมภาษณ์) ครั้งที่ ๒ (จำนวน ๑๐๐ คะแนน)        
หลักสูตรหลักสูตรในการประเมิน    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
การประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค.) ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฎของผู้เข้ารับการสอบ และจากการสัมภาษณ์พิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท,วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ และทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม การปรับคัวเข้ากับผู้ร่วมงาน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์และการลื่อสาร ทั้งนี้ กรมธุรกิจพลังงานจะดำเนินการประเมินสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ก่อน โดยผู้ได้รับคะแนนรวมการประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ ไม,ตากว่าร้อยละ ๖๐ จะเป็นผู้มีสิทธิ เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (สอบสัมภาษณ์) ต่อไป    ๑๐๐    สอบสัมภาษณ์


วิศวกรโยธา

การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (จำนวน ๒๐๐ คะแนน)        
หลักสูตรในการประเมิน    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
๑. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ๑.๑ วิชาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (๔๐ คะแนน) ประกอบด้วย –    การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา ได้แก่ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ความเช้าใจในการอ่าน ภาษาไทย การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การดีความจากบทความ ข้อความ หรือสถานการณ์ต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรมได้แก่ การคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำ ข้อความหรือรูปภาพ ตลอดจนการหาข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ รูปภาพ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ ได้แก่ ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด และแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น การเปรียบเทียบและวิเคราะห์เชิงปริมาณ ตลอดจนการประเมิน ความเพียงพอของข้อมูล ๑.๒ วิชาภาษาอังกฤษ (๒๐ คะแนน) –    ความเข้าใจด้านการสื่อสาร –    ความสามารถด้านการอ่าน –    ความสามารถด้านการเขียน ๑.๓ วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี (๔๐ คะแนน) –    ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน –    หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี –    วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง –    หน้าที่และความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ –    เจตคติและจริยธรรมสำหรับข้าราชการ    ๑๐๐    สอบข้อเขียน
๒. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (ภาค ข.) ๒.๑ ความรู้พื้นฐานด้านวิศวกรรม และความรู้ด้านวิศวกรรมความปลอดภัย ๒.๒ ความรู้เกี่ยวกับงานวิศวกรรมโยธา –    การเขียนแบบวิศวกรรม –    การคำนวณโครงสร้าง การออกแบบโครงสร้าง –    การวิเคราะห์โครงสร้าง ๒.๓ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิมรวมถึง อนุบัญญัติและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง    ๑๐๐    สอบข้อเขียน
การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (สอบสัมภาษณ์) ครั้งที่ ๒ (จำนวน ๑๐๐ คะแนน)        
หลักสูตรหลักสูตรในการประเมิน    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
การประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค.) ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฎของผู้เข้ารับการสอบ และจากการสัมภาษณ์พิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท,วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ และทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน ความคิดริเริมสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์และการลื่อสาร ทั้งนี้ กรมธุรกิจพลังงานจะดำเนินการประเมินสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ก่อน โดยผู้ไต้รับคะแนนรวมการประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ ไม,ตากว่าร้อยละ ๖๐ จะเป็นผู้มีสิทธิ เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (สอบสัมภาษณ์) ต่อไป    ๑๐๐    สอบสัมภาษณ์


นายช่างเทคนิค

การประเมินความรุ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (จำนวน ๒๐๐ คะแนน)        
หลักสูตรในการประเมิน    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
๑. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ๑.๑ วิชาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (๔๐ คะแนน) ประกอบด้วย –    การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา ได้แก่ การใช้ภาษาไทยเพื่อการลือสาร ความเช้าใจในการอ่าน ภาษาไทย การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การตีความจากบทความ ข้อความ หรือสถานการณ์ต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรมได้แก่ การคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำ ข้อความหรือรูปภาพ ตลอดจนการหาข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ รูปภาพ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ ได้แก่ ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด และแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น การเปรียบเทียบและวิเคราะห์เชิงปริมาณ ตลอดจนการประเมิน ความเพียงพอของข้อมูล ๑.๒ วิชาภาษาอังกฤษ (๒๐ คะแนน) –    ความเข้าใจด้านการสื่อสาร –    ความสามารถด้านการอ่าน –    ความสามารถด้านการเขียน ๑.๓ วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี (๔๐ คะแนน) –    ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน –    หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี –    วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง –    หน้าที่และความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ –    เจตคติและจริยธรรมสำหรับข้าราชการ    ๑๐๐    สอบข้อเขียน
๒. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (ภาค ข.) ๒.๑ ความรู้ทั่วไปด้านงานช่างอุตสาหกรรม ๒.๒ ความรู้เกี่ยวกับงานงานช่างอุตสาหกรรม –    การเขียนแบบอุตสาหกรรม –    การตรวจสอบงานด้านอุตสาหกรรม ๒.๓ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๔๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมรวมถึง อนุบัญญัติและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง    ๑๐๐    สอบข้อเขียน
การประเมินความรุ้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (สอบสัมภาษณ์) ครั้งที่ ๒ (จำนวน ๑๐๐ คะแนน)        
หลักสูตรหลักสูตรในการประเมิน    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
การประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค.) ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฎของผู้เข้ารับการสอบ และจากการสัมภาษณ์พิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท,วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ และทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์และการลื่อสาร ทั้งนี้ กรมธุรกิจพลังงานจะดำเนินการประเมินสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ก่อน โดยผู้ได้รับคะแนนรวมการประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ ไม่ตากว่าร้อยละ ๖๐ จะเป็นผู้มีสิทธิ เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (สอบสัมภาษณ์) ต่อไป    ๑๐๐    สอบสัมภาษณ์


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์

หลักสูตรในการประเมิน    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
๑. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ๑.๑ วิชาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (๔๐ คะแนน) ประกอบด้วย –    การคิดวิเคราะห์เชิงภาษาได้แก่ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ความเช้าใจในการอ่าน ภาษาไทย การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การตีความจากบทความ ข้อความ หรือสถานการณ์ต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรม ได้แก่ การคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำข้อความหรือ รูปภาพ ตลอดจนการหาข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ รูปภาพ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่างๆ –    การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ ได้แก่ ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด และแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น การเปรียบเทียบและวิเคราะห์เชิงปริมาณ ตลอดจนการประเมิน ความเพียงพอของข้อมูล ๑.๒ วิชาภาษาอังกฤษ (๒๐ คะแนน) –    ความเข้าใจด้านการสื่อสาร –    ความสามารถด้านการอ่าน –    ความสามารถด้านการเขียน ๑.๓ วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี (๔๐ คะแนน) –    ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน –    หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี –    วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง –    หน้าที่และความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ –    เจตคติและจริยธรรมสำหรับข้าราชการ    ๑๐๐    สอบข้อเขียน
๒. การประเมินเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (ภาค ข.) ๒.๑ ความรู้ด้านการซ่อมบำรุงรักษาเครื่องยนต์เบนซิน ดีเซลและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ๒.๒ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ๒.๓ ความรู้ทางด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์ ๒.๔ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการค้านํ้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๔๔๓ ๒.๔ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนํ้ามันเชื้อเพลิง    ๑๐๐    สอบข้อเขียน
การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (สอบสัมภาษณ์) ครั้งที่ ๒ (จำนวน ๑๐๐ คะแนน)        
หลักสูตรหลักสูตรในการประเมิน    คะแนนเต็ม    วิธีการประเมิน
การประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค.) ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฎของผู้เข้ารับการสอบ และจากการสัมภาษณ์พิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ พ่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ และทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์และการสื่อสาร ทั้งนี้ กรมธุรกิจพลังงานจะดำเนินการประเมินสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ก่อน โดยผู้ได้รับคะแนนรวมการประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ ไม่ตำกว่าร้อยละ ๖๐ จะเป็นผู้มีสิทธิ เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (สอบสัมภาษณ์) ต่อไป    ๑๐๐    สอบสัมภาษณ์

วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมธุรกิจพลังงาน  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 25 ก.ค. – 17 ส.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมธุรกิจพลังงาน

แผนที่ | file 1 | เว็บรับสมัคร