“กรมเจ้าท่า “
ลิงค์: https://ehenx.com/16368/ หรือ
ตำแหน่ง: นายช่างขุดลอกปฏิบัติงาน,นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน,นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน,นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานขนส่งปฏิบัติงาน,นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ,นักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ,วิศวกรสำรวจปฏิบัติการ,วิศวกรปฏิบัติการ
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-16,500
อัตราว่าง: 39
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 25 ก.พ. – 17 มี.ค. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กรมเจ้าท่า เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งต่าง ๆ
ด้วยกรมเจ้าท่าจะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งต่างๆ จำนวน ๑๔ ตำแหน่ง ประกอบด้วย ตำแหน่งนายช่างขุดลอกปฏิบัติงาน ตำแหน่งนายช่างสำรวจปฏิบัติงาน ตำแหน่งนายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน ตำแหน่งนายช่างโยธาปฏิบัติงาน ตำแหน่งนายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน ตำแหน่งนายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน ตำแหน่งเจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน ตำแหน่งเจ้าพนักงานพัสดุ ปฏิบัติงาน ตำแหน่งเจ้าพนักงานขนส่งปฏิบัติงาน ตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ ตำแหน่งนักวิชาการ ขนส่งปฏิบัติการ (ด้านการขนส่งทางนํ้า) ตำแหน่งนักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ (ด้านนโยบายและแผนงาน) ตำแหน่งวิศวกรสำรวจปฏิบัติการ และ ตำแหน่งวิศวกรปฏิบัติการ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และ หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรือง การสรรหาโดยการสอบแช่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศ รับสมัครสอบแช่งขันๆ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
นายช่างขุดลอกปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 6 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
- กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ 1 ส.ค. -9 ส.ค. 2567
- สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 1 ส.ค. -23 ส.ค. 2567
- กรมวิชาการเกษตร เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 5 ส.ค. -26 ส.ค. 2567
- ท่าอากาศยานไทย เปิดรับสมัครสอบพนักงาน บัดนี้-9 ส.ค. 2567 รวม 608 อัตรา,
- กรมเจ้าท่า เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ บัดนี้-30 ก.ค. 2567 รวม 19 อัตรา,
คุณวุฒิ : ปวส.
นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 6 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 7 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
เจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
เจ้าพนักงานขนส่งปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 6 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
วิศวกรสำรวจปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
วิศวกรปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
นายช่างขุดลอกปฏิบัติงาน
๑. ได้รับประกาศนิ ยบัตรวิชาขีพขั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง ขึ้นไป ชอง ก.พ.
นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน
๑.ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาการก่อสร้าง หรือสาขาวิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงขึ้นไป ของ ก.พ.
นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน
๑. ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพขั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูงขึ้นไป ของ ก.พ.
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นทีเทียบไดืในระดับเดียวกันในสาขาวิชา
ไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาชาวิชาเทคนิคโลหะ สาขาวิชาเขียนแบบเครื่องกล หรือสาขาวิชาช่างกลการเกษตร
นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิขาชีพขั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้!นระดับเดียวกันในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาการก่อสร้าง หรือสาขาวิชาสำรวจ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง ขึ้นไป ของ ก.พ.
เจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน
๑.ได้รับประกาศนิยบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอยางอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับประกาศนึยบัตรวิชาชีพชั้นสูง ขึ้นไป ของ ก.พ.
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับประกาศนืยบัตรวิชาชีพชั้นสูง ขึ้นไป ของ ก.พ.
เจ้าพนักงานขนส่งปฏิบัติงาน
๑. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที,เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ของ ก.พ.
นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ
๑. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับปริญญาตรี ขึ้นไป ของ ก.พ.
นักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ
๑. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับปริญญาตรี ขึ้นไป ของ ก.พ.
วิศวกรสำรวจปฏิบัติการ
๑. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมสำรวจ ทางวิศวกรรมโยธา หรือทางวิศวกรรมชลประทาน และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ของ ก.พ.
วิศวกรปฏิบัติการ
๑. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไต้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับปริญญาตรี ขึ้นไป ของ ก.พ.
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
นายช่างขุดลอกปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม,จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างสำรวจ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๓.๑ ด้านการปฏิบัติการ
๑. สำรวจ รังวัด คำนวณ ตรวจสอบ จัดทำแผนที่ แผนผัง เพื่อให้ทราบรายละเอียด และ เป็นไปตามแบบที่กำหนด สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. แก้ไขปัญหาเบื้องต้นจากการปฏิบัติงาน และ/หรือแก้ไขปัญหาจากการปฏิบัติงาน เพื่อให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของงานที่กำหนดไว้
๓. รังวัดระดับของเส้นขั้นความสูงภูมิประเทศ วางโครงข่ายหมุดหลักฐาน แผนที่ เพื่อสนับสนุน การปฏิบัติงานของหน่วยงาน
๔. บันทึกข้อมูลรายละเอียดตำงๆ ทีได้จากการสำรวจ และรายงานผล เพื่อติดตาม ความก้าวหน้าของงาน
๕. กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และรายละเอียด ต่างๆ ที่ได้จากการสำรวจ เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มีความถูกต้อง
๖. ปรับปรุงสภาพทำเลให้มีศักยภาพ เพื่อรองรับการใช้ประโยชน์จากที่ดินให้คุ้มค่า
๓.๒ ด้านการกำกับดูแล
ควบคุม กำกับดูแล วางแผน มอบหมายงาน ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อให้การดำเนินงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
๓.๓ ด้านการบริการ
๑. ให้คำปรึกษา แนะนำทั้งในเชิงทักษะเฉพาะด้านและทักษะทั่วไป แก่บุคลากรทุกสายงาน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจ บุคลากรมีความรู้ ความสามารถและมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน ในหน้าที่
๒. ติดต่อประสานกับหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ
นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ขัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑ ด้านการปฏิบัติการ
๑. สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง เก็บรายละเอียดด้านวิศวกรรมและสภาพแวดล้อมของ พื้นที่ก่อสร้างโครงการ เพื่อการวางแผนและออกแบบ บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่างๆ เพื่อให้ตรงตามหลัก วิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงาน และงบประมาณที่ได้รับ
๒. ออกแบบ กำหนดรายละเอียดงานก่อสร้าง งานบำรุงรักษา งานปรับปรุง และซ่อมแซม เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของหน่วยงานและอยู่ภายใต้งบประมาณที่กำหนด
๓. ประมาณราคาค่าก่อสร้างของโครงการ โดยแยกราคาวัสดุ ค่าแรงงาน ตามหลักวิชาช่าง และ มาตรฐาน เพื่อใช้เป็นราคากลางในการจ้างเหมาตามระเบียบของทางราชการ
๔. กำหนดแผนในการดำเนินงานก่อสร้าง งานบำรุงรักษา งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจ การจ้าง เพื่อให้งานก่อสร้างเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้
๕. ควบคุม ตรวจสอบงานก่อสร้าง งานบำรุงรักษา งานปรับปรุง และซ่อมแซม เพื่อให้ถูกต้อง ตามแบบรูปและรายการ และมีคุณภาพตามมาตรฐานทางวิศวกรรม
๖. ติดตาม ประเมินผลการตรวจสอบสภาพสิ่งก่อสร้าง เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการชอง หน่วยงานและอยู่ภายใต้งบประมาณที่กำหนด
๗. ตรวจสอบ แก่ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๘. ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
๙. ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
๑๐. รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง วิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์โนการวางแผนงานก่อสร้างในอนาคต
๓.๒ ด้านการกำกับดูแล
๑. กำกับ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้การดำเนินงานของ หน่วยงานที่รับผิดชอบเป็นไปตามเปัาหมายที่กำหนด
๒. วางแผน ประเมินผล และแก่ไขปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานโยธาในหน่วยงานที,รับผิดชอบ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
๓.๓ ด้านการบริการ
๑.ให้คำแนะนำ สนับสนุนด้านวิชาการ ตอบปัญหาและฟิกอบรมเกี่ยวกับงานโยธาที่รับผิดชอบ แก่ ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญด้านงานโยธาแก่ผู้,ที่สนใจ
๒. ประสานงานในระดับกอง กับหน่วยงานราชการ เอกชนหรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความ ช่วยเหลือและร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ ต่อการทำงานของ หน่วยงานและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม,จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑ ด้านการปฏิบัติการ
๓.๑.๑ สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง เก็บรายละเอียดด้านวิศวกรรมและสภาพแวดล้อม ของพื้นที่ก่อสร้างโครงการ เพื่อการวางแผนและออกแบบ บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่างๆ เพื่อให้ตรงตามหลัก วิขาช่าง ความต้องการของหน่วยงาน และงบประมาณที่ได้รับ
๓.๑.๒ ออกแบบ กำหนดรายละเอียดงานก่อสร้าง งานบำรุงรักษา งานปรับปรุง และซ่อมแซม เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของหน่วยงานและอยู่ภายใต้งบประมาณที่กำหนด
๓.๑.๓ ประมาณราคาค่าก่อสร้างของโครงการ โดยแยกราคาวัสดุ ค่าแรงงาน ตามหลักวิชาช่าง และมาตรฐาน เพื่อใช้เป็นราคากลางในการจ้างเหมาตามระเบียบของทางราชการ
๓.๑.๔ กำหนดแผนในการดำเนินงานก่อสร้าง งานบำรุงรักษา งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือ ตรวจการจ้าง เพื่อให้งานก่อสร้างเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้
๓.๑.๕ ควบคุม ตรวจสอบงานก่อสร้าง งานบำรุงรักษา งานปรับปรุง และซ่อมแซม เพื่อให้ถูกต้อง ตามแบบรูปและรายการ และมีคุณภาพตามมาตรฐานทางวิศวกรรม
๓.๑.๖ ติดตาม ประเมินผลการตรวจสอบสภาพสิ่งก่อสร้าง เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการชองหน่วยงาน และอยู่ภายใต้งบประมาณที่กำหนด
๓.๑.๗ ตรวจสอบ แก่ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้ การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๓.๑.๘ ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
๓.๑.๙ ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
๓.๑.๑๐ รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง วิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ในการวางแผนงานก่อสร้างในอนาคต
๓.๒ ด้านการกำกับดูแล
๓.๒.๑ กำกับ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้การดำเนินงานของ หน่วยงานที่รับผิดชอบเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
๓.๒.๒ วางแผน ประเมินผล และแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานโยธาในหน่วยงานที่ รับผิดชอบเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
๓.๓ ด้านการบริการ
๓.๓.๑ให้คำแนะนำ สนับสนุนด้านวิชาการ ตอบปัญหาและฟิกอบรมเกี่ยวกับงานโยธา ที่รับผิดชอบ แกผู้ใต้บังคับบัญชา หรือเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชน ทั่วไป เพื่อถ่ายทอด ความรู้ ความชำนาญด้านงานโยธาแก่ผู้ที่สนใจ
๓.๑.๒. ประสานงานในระดับกอง กับหน่วยงานราชการ เอกชนหรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือ และร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ ต่อการทำงานของหน่วยงานและ ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา
ปฏิบัติงานด้านช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอนและวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑ ด้านการปฏิบัติการ
สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุมการใช้งาน
ดูแล บำรุงรักษา และใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า สื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์รับส่ง ข้อมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้ต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพตอบสนองความต้องการ ของหน่วยงานภายในและภายนอก
๓.๒ ด้านการวางแผน
๑. จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
๒. ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใข้ในการออกใบรับรองตามที่หน่วยงาน
หรือกฎหมายกำหนด
๓.๓ ด้านการประสานงาน
ประสานงาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่างๆทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อประกอบ การปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ
๓.๔ ด้านการบริการ
ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาแกิใขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานปละผู้รับบริการ ทั้งภายในและ ภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้ใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม,จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านอุทกวิทยา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑ ด้านการปฏิบัติการ
๑. ดำเนินการ ตรวจสอบ บำรุงรักษา ซ่อมแก่ไข ปรับปรุง เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้พร้อมใช้อยู่เสมอ
๒. สำรวจ รวบรวมข้อมูล จัดทำสถิติ ประวัติการบำรุงรักษา การซ่อมเครื่องจักรกล เครื่องมือกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกลเรือ เพื่อเป็นข้อมูลหลักฐานสำหรับนำไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงงาน
๓. ควบคุม ดำเนินการ ตรวจสอบ บำรุงรักษา ซ่อมแก่ไข ปรับปรุง เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ และงานด้านเครื่องกล และอุปกรณ์การขุดลอก เพื่อให้พร้อมใช้อยู่เสมอ
๔. วิเคราะห์กำหนดแผนการใช้ การบำรุงรักษา การสำรองอะไหล่ การจัดหาและจำหน่าย แผนผังรายละเอียดการติดตั้งเครื่องตรวจสภาพเรือและรถขุด อุปกรณ์ เพื่อปรับปรุงการทำงานให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และประหยัดงบประมาณ
๕. จัดทำ ควบคุมงบประมาณ และ กำหนดคุณลักษณะเฉพาะในการจัดชื้ออุปกรณ์ เครื่องมือ
เครื่องใช้ เครื่องจักรกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกลเรือที่จำเป็นในการใช้งาน เพื่อช่วยให้การดำเนินงาน สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภา
๖. ตรวจสอบความถูกต้องของการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องจักรกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกลเรือ เพื่อควบคุมความเรียบร้อยและป้องกันการสูญหาย
๓.๒ ด้านบริการ
๑. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกส่วนราชการที่เกี่ยวช้อง เพื่อให้
การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
๒. ให้คำแนะนำและบริการแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจใน
การทำงาน
๓. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที,เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวก
รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
๔. ให้คำแนะนำ สาธิตการใช้ การบำรุงรักษา ซ่อมแซมอุปกรณ์ เครืองมือ เครื่องใช้
เครื่องจักรกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล แก,ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งเจ้าหน้าที่ภายในและภายนอก หน่วยงาน เพื่อให้ความรู้ในการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้องเหมาะสม
๔. จัดทำคู่มือและรายละเอียด ช้อกำหนดของอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องจักรกล
ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และเผยแพร่ แก่บุคคลทั่วไป
นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม,จำเป็นต้องใชัผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านอุทกวิทยา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑. ด้านการปฏิบัติการ
๓.๑.๑ สำรวจ สืบค้นข้อมูลด้านอุทกวิทยาเพื่อจัดเก็บเป็นสถิติด้านทรัพยากรนํ้าไว้วิเคราะห์ทาง อุทกวิทยา ไว้อ้างอิงในการคำนวณค่าระดับนํ้าลงตํ่าสุด
๓.๑.๒ ประมวลและตรวจสอบข้อมูลสถิติด้านอุทกวิทยาและระดับนํ้า เพื่อให้ได้ค่าที,ถูกต้อง น่าเชื่อถือ สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์วิจัยได้
๓.๑.๓ ตรวจสอบ และรวบรวมรายงานทางด้านอุทกวิทยาในแต่ละเดือนเพื่อส่งรายงานให้กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนำไปวิเคราะห์และพยากรณ์ต่อไป
๓.๑.๔ ปรับปรุง ซ่อมแซม สถานีวัดสำรวจข้อมูลด้านอุทกวิทยาและอุตุวิทยาและระดับนํ้า เพื่อให้มีสภาพที่ดีและพร้อมใช้งาน
๓.๑.๕ ดำเนินการเสนอข้อสารสนเทศด้านอุทกวิทยาผ่านเทคโนใลยีสารสนเทศ เพื่อให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาขอรับบริการข้อมูลระดับนํ้าเพื่อนำไปวิเคราะห์และพยากรณ์ให้ทันต่อสถานการณ์
๓.๑.๖ ช่วยปฏิบัติหน้าที่สำรวจอุทกวิทยาทะเล งานสร้างสถานีวัดระดับ งานตรวจโครงสร้าง สถานีวัดระดับ งานซ่อมบำรุงสถานีวัดระดับ และงานตรวจค่าระดับหมุดหลักฐานประจำสถานีวัดระดับนํ้า
๓.๑.๗ ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๒. ด้านการบริการ
๓.๒.๑ ประสานงานกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่าง รวดเร็ว และ มีประสิทธิภาพสูง
๓.๒.๒ บริการข้อมูลทางอุทกวิทยาแก่หน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
เจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม,จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานพัสดุ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ขัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบและ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑ ด้านการปฏิบัติการ
๑. ปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุในการจัดหา จัดซื้อ ว่าจ้าง การเก็บรักษา นำส่ง การซ่อมแซม และบำรุงรักษาพัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ เพื่อให้อยู่ในสภาพดีพรัอมต่อการใช้งาน
๒. ทำทะเบียนการจัดหาพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญ หลักฐานและเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ เพื่อ รวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
๓. ตรวจ และ/หรือร่างและตรวจซื้อสัญญาซื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึกย่อเรื่อง เกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินงาน
๔. บันทึกข้อมูลจัดซื้อจัดจ้างในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (e-GP)
๕. รายงานสรุปความเห็นเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผู้บังคับบัญชาใน หน่วยงาน
๖. ศึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับระเบียบงานพัสดุ เพื่อร่วมพัฒนาให้ระเบียบการ ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น
๗. ชี้แจงรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับงานพัสดุให้การปฏิบัติงานมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้
๘. จัดทำรายละเอียดเกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ ครุภัณฑ์
๙. ควบคุม และ/หรือตรวจสอบคลังพัสดุ การจัดทำบัญชีพัสดุ รวมถึงสถิติการใช้ยานพาหนะ ของกรมเจ้าท่า
๓.๒ ด้านการกำกับดูแล
๑. ควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อให้การทำงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ
๒. ให้คำแนะนำแก้ปัญหาข้อขัดช้องในการปฏิบัติงานแกเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้การ ปฏิบัติงานเป็นไปอย่างต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ
๓.๒ ด้านการบริการ
๑. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที,เกี่ยวข้องเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
๒. บริ การข้อมูล ตอบปั ญหาหรื อชี้แจงเรื่ องต่วงๆ ที่เกี่ ยวกับงานในความรับผิ ดชอบแกผู้บังคับบัญชา บุคคล หรือหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนงานต่างๆ ให้บรรลุภารกิจที่กำหนดไว้
๓. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที,อยู่ในความรับผิดชอบแก่ผู้ร่วมงาน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านขนส่ง ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑. ด้านการปฏิบัติการ
๓.๑.๑ พิจารณาเบื้องต้น และดำเนินการเกี่ยวกับการขออนุญาตใช้เรือ และใบทะเบียนเรือไทย ที่เกี่ยวกับการขนส่ง ตามที่กฎหมายกำหนด
๓.๑.๒ พิจารณาเบื้องต้น และดำเนินการเกี่ยวกับการจดทะเบียนเรือ การรับชำระภาษีเรือ การโอนเรือ การย้ายเรือ การแกํไขเปลี่ยนแปลงรายการทางทะเบียนเรือ รวมทั้งการดำเนินการทางทะเบียนเรือ เรื่องอื่นๆ เพื่อให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
๓.๑.๓ ช่วยดำเนินการเกี่ยวกับการควบคุมการประกอบการขนส่งให้เป็นไปตามกฎหมาย อนุสัญญาและความตกลงระหว่างประเทศ
๓.๑.๔ ปฏิบัติการรวบรวมรายละเอียด และจัดทำรายงานเกี่ยวกับงานด้านการจดทะเบียนเรือ
๓.๑.๕ พิจารณาเบื้องต้น และดำเนินการเกี่ยวกับการขอใบอนุญาตที่เกี่ยวกับการขนส่งทางนํ้าต่างๆ อาทิ ใบอนุญาตใช้เรือ เรือไทย และแพโดยสารใบอนุญาตก่อสร้างสิ่งล่วงลํ้าลำนํ้าใบประกาศบียบัตรผู้ควบคุมเรือ และผู้ควบคุมเครื่องจักร หนังสือคนประจำเรือ ตามที่กฎหมายกำหนด
๓.๑.๖ ร่วมปฏิบัติงานด้านการตรวจตรา ปราบปราม ว่ากล่าวตักเตือน และช่วยดำเนินการ เปรียบเทียบปรับผู้กระทำความผิด ตามกฎหมายว่าด้วยการขนล่งสาขาต่าง ๆ
๓.๑.๗ ช่วยควบคุมตรวจตราการขนส่ง การใช้สถานีขนส่งทางนํ้าและท่าเทียบเรือ เพื่อความ ปลอดภัยและเพื่อกำกับดูแล การขนล่งให้เป็นระเบียบและเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
๓.๑.๘ ทำการระวังชี้แนวเขตและรับรองแนวเขตที่ดิน แผนที่พิพาทที่ดิน ตามคำสั่งศาล กรณีมี การพิพาทแนวเขตที่ดินติดกับแม่นํ้า ลำคลอง บึง อ่างเก็บนํ้า ทะเลสาบหรือทะเล หรือขายหาดของทะเล ระหว่าง หน่วยงานของรัฐกับเอกขน หรือเอกชนกับเอกขน รวมทั้งเบิกความเป็นพยานในขั้นศาลในคดีพิพาทดังกล่าว
๓.๑.๙ ตรวจตรา และอำนวยความปลอดภัยในการเดินเรือ การจราจรทางนํ้า การลำเลียง การขนส่งทางนํ้าให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดโดยเคร่งครัด และให้คำแนะนำในการขนส่งทางนํ้า
๓.๑.๑๐ให้คำแนะนำการออกแบบการขุดลอกร่องนาทางเรือเดินแก่เอกชนและองค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่นในเบื้องต้น และควบคุมการขุดลอกร่องนํ้าทางเรือเดินให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการชนส่งทางนํ้า ของประเทศ
๓.๑.๑๑ ปฏิบัติหน้าที่แทนเจ้าหน้าที่ด้านการเงินและบัญชี ด้านสารบรรณ ด้านพัสดุ ครุภัณฑ์ และจัดซื้อจัดจ้าง ด้านงานบุคคล
๓.๑.๑๒ รวบรวมข้อมูล สถิติ ผลการปฏิบัติงานในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง ของหน่วยงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย และนำเสนอผู้บังคับบัญชาเพื่อพิจารณา
๓.๑.๑๓ ดำเนินการทางกฎหมายแก่ผู้ละเมิด เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือ ในน่านนํ้าไทย กฎหมายว่าด้วยเรือไทย และกฎหมายว่าด้วยการป้องกันเรือโดนกัน และ/หรือ อนุสัญญาเกี่ยวข้อง ๓.๒. ด้านการบริการ
๓.๒.๑ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ แก่ผู้ร่วมงาน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
๓.๒.๒ ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกัน ต่างหน่วยงาน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการหรือขอความช่วยเหลือในด้านที่ตนรับผิดชอบ
๓.๒.๓ ตอบปัญหา และชี้แจงเรืองต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เพื่อเสริมสร้างความเช้าใจ ในการปฏิบัติงานแก่ผู้ที่มีความสนใจในงานด้านการขนส่งทางนํ้า
๓.๒.๔ สอน อบรม และทดสอบเกี่ยวกับการขับขี่เรือแก1นักเรียนการขนส่ง หรือผู้ขอรับ ใบอนุญาตเป็นผู้ขับเรือหรือผู้ประจำเรือ เพื่อเพิ่มทักษะในการปฏิบัติหน้าที่
๓.๒.๕ ส่งเสริมสวัสดิภาพการขนส่ง พิจารณา จัดหา และบริการการขนส่งสาขาต่างๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย และความสะดวกในการเดินทาง
เจ้าพนักงานขนส่งปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านตรวจสอบภายใน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑. ด้านการปฏิบัติการ
๓.๑.๑ ศึกษา วิเคราะห์ และตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล ตัวเลข หลักฐานการทำสัญญา และเอกสารต่างๆ ทางด้านการเงิน การบัญชี เพื่อให้การตรวจสอบดำเนินไปอย่าง ถูกต้องและได้ผลตรงกับหลักฐานที่เกิดขึ้นจริง
๓.๑.๒ ตรวจสอบและประเมินผลปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ การเงิน พัสดุ ทรัพย์สิน และการบริหารด้านอื่นๆ ของส่วนราชการ รวมทั้งการสอบหาข้อเท็จจริงในกรณีที่มีการทุจริต เพื่อดูแล ให้การใช้งบประมาณและทรัพยากรเป็นไปอย่างประหยัด มีประสิทธิภาพสูง และตรงตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
๓.๑.๓ ออกแบบและประเมินระบบการควบคุมภายในของหน่วยงานตรวจสอบภายในให้เป็นไป ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อนำไปสู่ การกำหนดแนวทางปฏิบัติ สำหรับหน่วยรับตรวจให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน
๓.๑.๔ จัดทำกระดาษทำการและรายงานการตรวจสอบรายเดือน เพื่อเสนอข้อตรวจพบ และข้อเสนอแนะให้ผู้บังคับบัญชาหรือหน่วยงานต้นสังกัดรับทราบผลการดำเนินงาน
๓.๑.๕ ถ่ายทอดความรู้แกเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาและหน่วยรับตรวจ เช่น ให้คำแนะนำใน การปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตรและฟิกอบรม จัดทำคู่มือประจำสำหรับการฟิกอบรม เพื่อถ่ายทอด ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและข้อกำหนด
๓.๑.๖ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจ ให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะ ของรายงานการตรวจสอบรายเดือน
๓.๒ ด้านการวางแผน
วางแผนหรือร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานตามแผนงานหรือโครงการของหน่วยงานระดับ สำนักหรือกอง และ แก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธที่กำหนด
๓.๓ ด้านการประสานงาน
๓.๓.๑ ประสานการทำงานร่วมกัน โดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคำแนะนำเบื้องต้น แก่สมาขิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมถุทธิ้ตามที่กำหนด
๓.๓.๒ ให้ข้อคิดเห็นหรือคำแนะนำเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือบุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๓.๓ ติดต่อ ประสานงาน และนำเสนอข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายนอก อาทิ คตป. หรือ สตง. และกลุ่มงานตรวจสอบภายในระดับกระทรวง
๓.๔ ด้านการบริการ
๓.๔.๑ ฟิกอบรม ให้คำปรึกษา เสนอแนะวิธีการปรับปรุงการปฏิบัติงานแก่หน่วยรับตรวจและ เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา และตอบข้อซักถามและชี้แจงเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ พร้อมทั้งช่วยแก้ปัญหา ข้อขัดแย้งในหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้การปฏิบัติงานถูกต้อง และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๓.๔.๒ ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานที,ตนรับผิดชอบในระดับเบื้องต้นแก่ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือ ประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
๓.๔.๓. จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงาน เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงานหลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ
นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการขนส่ง ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๓.๑. ด้านการปฏิบัติการ
๑. ศึกษา วิเคราะห์ พิจารณาเกี่ยวกับการประกอบการขนส่งทางนํ้า เพื่อให้ถูกต้องและเป็นไป ตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่ได้มีการกำหนดไว้
๒. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเบื้องต้นเกี่ยวกับการขนส่งและคมนาคมทางนํ้า เพื่อใช้ในการวางแผน และกำหนดมาตรฐานด้านการขนส่งและคมนาคมทางนํ้า
๓. ตรวจสอบ พิจารณา และวินิจฉัย กำหนดบทลงโทษผู้กระทำผิด กรณีข้อพิพาทหรือข้อ ร้องเรียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง พ.ร.บ. เรือไทย พ.ร.บ.การเดินเรือ ในน่านนํ้าไทย พ.ร.บ.ป้องกันเรือโดนกัน
๔. วิเคราะห์ วิจัยเบื้องต้นเกี่ยวกับความเหมาะสมของแผนงาน/โครงการ ในการพัฒนา การ ขนส่งและคมนาคม ทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านเทคนิค เพื่อให้ได้แผนงาน/โครงการในการพัฒนา ระบบการขนส่งที่ เหมาะสมกับสภาวการณ์ของประเทศ
๕. ควบคุม กำกับ ดูแลการขนส่งทางนํ้า เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย อนุสัญญา และความตกลง ระหว่างประเทศ
๖. ดำเนินการด้านทะเบียนเรือ และด้านใบอนุญาตที่เกี่ยวข้องกับการขนล่งทางนํ้าต่างๆ อาทิ ใบอนุญาตใช้เรือ เรือไทย และแพโดยสาร ใบอนุญาตก่อสร้างสิ่งล่วงลํ้า ล0านํ้า ใบประกาศนียบัตรผู้ควบคุมเรือและ ผู้ควบคุมเครื่องจักร หนังสือคนประจำเรือ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย
๗. ส่งเสริมสวัสดิภาพการขนส่ง การแก่ไขปัญหาเกี่ยวกับการขนส่ง ตลอดจน การรวบรวมข้อมูล ศึกษาข้อเท็จจริง วิเคราะห์หาสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ วางแผนการแก่ไขป้องกัน เพื่อลดอุบัติเหตุที่เกิดจากการขนส่ง
๘. ทำการระวังชี้แนวเขตและรับรองแนวเขตที่ดิน แผนที่พิพาทที่ดิน ตามคำสั่งศาล กรณีมี การพิพาทแนวเขตที่ดินติดกับแม่นํ้า ลำคลอง บึง อ่างเก็บนํ้า ทะเลสาบหรือทะเล หรือชายหาดของทะเล ระหว่าง หน่วยงานของรัฐกับเอกชน หรือเอกขนกับเอกชน รวมทั้งเบิกความเป็นพยานในชั้นศาลในคดีพิพาทดังกล่าว
๙. ตรวจตรา และอำนวยความปลอดภัยในการเดินเรือ การจราจรทางนํ้า การลำเลียงการขนส่งทาง หมายและข้อกำหนดโดยเคร่งครัด และให้คำแนะนำในการขนส่งทางนํ้า
๑๐.ให้คำแนะนำการออกแบบการขุดลอกร่องนํ้าทางเรือเดินแก่เอกชนและองค์การปกครองส่วน ท้องถิ่นในเบื้องต้น และควบคุมการขุดลอกร่องนํ้าทางเรือเดินให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการขนล่งทางนํ้าของ ประเทศ
๑๑. รวบรวมข้อมูล จัดทำรายงาน สถิติ ผลการปฏิบัติงานในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องของหน่วยงาน ตามที่ได้รับมอบหมายและนำเสนอผู้บังคับบัญชาเพื่อพิจารณา
๑๒. ปฏิบัติหน้าที่แทนเจ้าหน้าที่ด้านการเงินและบัญชี ด้านสารบรรณ ด้านพัสดุ ครุภัณฑ์ และจัดชื้อจัดจ้าง ด้านงานบุคคล
๑๓. ดำเนินการทางกฎหมายแก่ผู้ละเมิด เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือใน น่านนํ้าไทย กฎหมายว่าด้วยเรือไทย และกฎหมายว่าด้วยการป้องกันเรือโดนกัน และ/หรือ อนุสัญญาเกี่ยวข้อง
๓.๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓.๓. ด้านการประสานงาน
๑. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธื้ตามที่กำหนด
๒. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๔. ด้านการบริการ
๑ จัดทำรายงานและเผยแพร่งานวิชาการทางด้านขนส่งและคมนาคมทางนํ้า เพื่อให้ความรู้ ในส่วนของหน่วยงาน เป็นการเผยแพร่ความรู้ออกสู่สังคมอย่างกว้างขวาง ก่อให้เกิดการพัฒนาและมีการต่อ ยอดความรู้
๒. สอน อบรม และทดสอบ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ เกี่ยวกับการขนส่งทางนํ้า เพื่อ ประกอบการพิจารณา อนุมัติใบอนุญาต ประเภทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และเพื่อพัฒนาบุคลากรสำหรับงานคมนาคม ขนส่งทางนํ้า
นักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน
ปฏิบัติงานด้านวิชาการขนส่ง ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๓.๑. ด้านการปฏิบัติการ
๑. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเบื้องต้นเกี่ยวกับการขนส่งและคมนาคม รวมถึงงานด้านการกำหนด
นโยบายและยุทธศาสตร์การขนล่งทางนํ้า เพื่อใช้ในการวางแผน และกำหนดมาตรฐานด้านการขนส่งทางนํ้าและ พาณิชย์นาวี และ/หรือตรวจสอบข้อมูลที่เกี่ยวช้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ พร้อมวิเคราะห์ข้อมูลที่ค้นคว้าและ รวบรวมได้ เพื่อนำมาจัดทำยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดกลยุทธ์ของหน่วยงาน เพื่อการพัฒนาองค์กรให้ บรรลุเป้าหมายและเกิดผลสัมฤทธตามภารกิจ
๒. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเบื้องต้นเกี่ยวกับความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของแผนงาน/
โครงการ วิเคราะห์และให้ข้อเสนอแนะอัตราค่าธรรมเนียม อัตราค่าโดยสารเพื่อสนับสนุนการประกอบการขนส่ง ทางนํ้า ในการพัฒนาการขนส่งทางนํ้าและพาณิชยนาวี รวมทั้งตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติงานด้านการขนส่ง ของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างถูกต้อง เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการวางแผนและกำหนด นโยบาย การพัฒนาการขนล่งให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ของประเทศ
๓. รวบรวมข้อมูลปัญหา อุปสรรค ของแผนงาน/โครงการ ที่กรมก่อสร้าง และวิเคราะห์
นำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำเสนอรายงานพร้อมความคิดเห็นในเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อ ประกอบการวางแผน นโยบายและทิศทางการขับเคลื่อนภารกิจของหน่วยงาน รวมทั้งสนับสบุนและผลักคันให้ หน่วยงานตลอดจนสำนักต่างๆ ภายในกรม เจ้าท่ามีทิศทางยุทธศาสตร์ในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน
๔. รวบรวมข้อมูลสนับสนุน เอกสาร รายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ สำหรับ ประกอบการวิเคราะห์ เพื่อนำมาจัดทำยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวซ้องกับการกำหนดกลยุทธ์ของหน่วยงาน
๕. ตรวจสอบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ พร้อมวิเคราะห์ข้อมูลที่ค้นคว้าและ รวบรวมได้ เพื่อนำมาจัดทำยุทธศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดกลยุทธ์ของหน่วยงาน
๖. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายของกรมเจ้าท่า รวมทั้งโครงการพัฒนา ของกรมเจ้าท่า(ทำเรือ และเขื่อนฯ) เพื่อให้รับทราบผลการดำเนินการ รวมทั้งนำเสนอปัญหา อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ไข หรือพัฒนาโครงสร้างพี้นฐานต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อให้รับทราบผลการดำเนินการ พร้อมติดตามและสนับสนุนช่วยในการแก้ไชปัญหาให้บรรลุผลวัตถุประสงค์ ซึ่งสะท้อนผลสำเร็จในการทำงานของ หน่วยงานรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเป็นรูปธรรม และการบูรณาการนโยบายรัฐบาลด้านเศรษฐกิจและด้าน ต่างๆ เพื่อนำมาประกอบการกำหนดกลยุทธ์ในการดำเนินกิจกรรม/โครงการในความรับผิดชอบ เพื่อประกอบการ พิจารณาวางทิศทางการขับเคลื่อนภารกิจของหน่วยงาน
๗. จัดทำงบประมาณประจำปีของส่วนงาน/สำนัก และงบประมาณแผนงาน/โครงการพัฒนา ของกรมเจ้าท่า รวมถึงการจัดหาแหล่งเงินอื่น (เงินกู้และงบกลาง) และจัดทำรายละเอียดเหตุผลความจำเป็นใน การเสนอของบประมาณประกอบการชี้แจงคณะกรรมาธิการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การติดตามเร่งรัดการ ใช้จ่ายงบประมาณ/เงินกู้/งบกลางให้เป็นไปตามแผนการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงจัดทำข้อกำหนดที่ ต้องปฏิบัติในการจัดจ้างที่ปรึกษา การคัดเลือก และกำกับ/ตรวจการจ้างที่ปรึกษาในงานที่เกี่ยวข้อง
๓.๒ ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานทีรับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ และ/หรือแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓.๓ ด้านการประสานงาน
๑. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลส้มฤทธตามที่กำหนด
๒. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง รวมทั้งให้ข้อคิดเห็นหรือคำแนะนำ เบื้องต้นแกบุคคลหรือหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ ได้รับมอบหมาย
๓.๔ ด้านการบริการ
๑. จัดทำรายงานและเผยแพร่งานวิชาการทางด้านขนส่งและคมนาคม เพื่อให้ความรู้1นส่วนของ หน่วยงาน เป็นการเผยแพร่ความรู้ออกสู่สังคมอย่างกว้างขวาง ก่อให้เกิดการพัฒนาและมีการต่อ ยอดความรู้
๒. ให้บริการ ชี้แจง และตอบปัญหาเบื้องต้นแกหน่วยงานภายใน หน่วยงานภายนอก หรือ ประชาชน เกี่ยวกับงานด้านนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนการดำเนินงานของกรมเจ้าท่า เพื่อสร้างความเข้าใจ และสนับสนุนงานตามภารกิจของหน่วยงาน
๓. ให้คำชี้แจงเกี่ยวกับกฎหมายขนส่งทางนํ้าและพาณิชยนาวี รวมถึงแนวทาง หลักเกณฑ์ และ วิธีการต่างๆ ด้านวิเคราะห์นโยบายและแผนของกรมเจ้าท่า และระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้หน่วยงานทั้ง ภายในและภายนอก รวมไปถึงประชาชนได้รับความรู้และนำไปดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
วิศวกรสำรวจปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมสำรวจ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑. ด้านการปฏิบัติการ
๓.๑.๑ ดูแล กำหนดนโยบายการปฏิบัติงาน พิจารณาวางอัตรากำลังเจ้าหน้าที,และ งบประมาณ แก้ไขปัญหาขัดข้องในการปฏิบัติงานในหน่วยงานที่รับผิดขอบ ในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับต้น หรือในฐานะผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
๓.๑.๒ สำรวจ ศึกษา วางแผน วิเคราะห์ วิจัย ออกแบบ คำนวณ ประมาณราคา ควบคุม งานก่อสร้าง งานบำรุง งานบูรณะซ่อมแซม งานอำนวยความปลอดภัย งานผังเมืองหรืองานอื่นใดที่เกี่ยวข้อง กับวิศวกรรมโยธา และโครงสร้างพื้นฐานที่มีความยุ่งยากและซับซ้อน เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชาการ กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง
๓.๑.๓ ตรวจสอบ แบบแปลน โครงสร้าง สภาพการใช้งานของอาคารหรือโครงสร้าง พื้นฐาน ที่มีความยุ่งยากและซับซ้อน เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
๓.๑.๔ ควบคุม ดูแลการปฏิบัติงานสำรวจที่มีความยุ่งยากและซับซ้อน ให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้รูปแบบแผนที่ต่างๆที่ถูกต้อง
๓.๑.๕ ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลที่มีความยุ่งยากและซับซ้อน เพื่อ กำหนด กฎ ระเบียบ มาตรฐาน มาตรการ ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมโยธา และโครงสร้างพื้นฐาน
๓.๑.๖ อำนวยการ ศึกษา วิจัย และทดสอบวัสดุที,ใช้ในงานด้านวิศวกรรมโยธาและ โครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้มีความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัยและประหยัดงบประมาณ
๓.๑.๗ ตรวจสอบสัญญาก่อสร้าง บำรุง บูรณะซ่อมแซมและอำนวยความปลอดภัย รวมถึง การแก้ไขสัญญางานวิศวกรรมโยธา ที่มีความยุ่งยากและซับซ้อน เพื่อให้งานมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานและ ข้อกำหนด
๓.๑.๘ ถ่ายทอดความรู้ จัดทำคู่มือ ด้านวิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐานแก,เจ้าหน้าที่ ระดับรองลงมา ให้คำปรึกษา แนะนำการปฏิบัติงาน วางโครงการ กำหนดหลักสูตรและผักอบรม เพื่อถ่ายทอด ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและข้อกำหนด
๓.๒ ด้านการวางแผน
วางแผนหรือร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานตามแผนงานหรือโครงการของหน่วยงานระดับ สำนักหรือกอง และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓.๓ ด้านการประสานงาน
๓.๓.๑ ประสานการทำงานร่วมกันโดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคำแนะนำเบื้องต้น แก่สมาชิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ๋ตามที่กำหนด
๓.๓.๒ ให้ข้อคิดเห็นหรือคำแนะนำเบื้องต้นแกสมาชิกในทีมงานหรือบุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๔ ด้านการบริการ
๓.๔.๑ ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงานวิศวกรรมโยธา และโครงสร้างพื้นฐานในความรับผิดชอบในระดับที่มีความยุ่งยากและซับซ้อนแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อให้ได้ข้อมูลความรู้ต่างๆที่เป็นประโยชน์ รวมทั้งการมีส่วนร่วม
๓.๔.๒ ตรวจสอบ การจัดเก็บข้อมูล ทำสถิติ ปรับปรุง จัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้สอดคล้องและสนับสมุนภารกิจของหน่วยงาน และ ใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ และมาตรการต่างๆ
วิศวกรปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๑. ด้านการปฏิบัติการ
๓.๑.๑ ตรวจสอบแผนผัง แผนปฏิบัติการ โครงสร้าง รายการคำนวณ รูปแบบทางวิศวกรรม ต่างๆในงานที่รับผิดชอบให้ลูกต้องตามหลักกฎหมาย หลักวิชาการและมาตรฐานสากล เพื่อให้เกิดความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
๓.๑.๒ หาข้อมูลและตรวจสอบกรณีเกิดอุบัติเหตุในการจราจรและขนส่ง เพื่อช่วยประสาน การคู้ภัยและพิจารณาสั่งการให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวช้อง
๓.๑.๓ ปรับปรุงและตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวช้องกับเครื่องหมายการเดินเรือเพื่อให้ เกิดความสะดวกและ ความปลอดภัยในการ-เดินเรือตามมาตรฐานสากล
๓.๑.๔ สาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับงานวิศวกรรม และการจัดการสิ่งแวดล้อมโดย ประยุกต์เทคโนโลยีที่เหมาะสมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีสากล เพื่อเพิ่มศักยภาพของท้องถิ่นและ การมีส่วนร่วมในงานวิศวกรรม และการจัดการกับสิ่งแวดล้อม
๓.๑.๕ ตรวจสอบ ควบคุม กำกับ ดูแล การประกอบกิจการ เพื่อให้ดำเนินงานของสถาน ประกอบการถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่วางไว้
๓.๑.๖ ตรวจสอบ การแจ้ง การขออนุญาต ตั้ง ขยาย ย้าย อุปกรณ์ต่างๆ ที,เกี่ยวข้องกับ เครื่องหมายการเดินเรือ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้
๓.๑.๗ ปฏิบัติงาน กำกับดูแลการซ่อมบำรุงรักษา เครื่องมือและอุปกรณ์ ระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสาร และโครงสร้างต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องหมายการเดินเรือ เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
๓.๑.๘ ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบ และกำหนดรูปแบบรายการ เครื่องมือ และ อุปกรณ์ ระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสาร และโครงสร้างต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องหมายการเดินเรือเพื่อการพัฒนา และปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน
๓.๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานทีรับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓.๓. ด้านการประสานงาน
๓.๓.๑ ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
๓.๓.๒ ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๔. ด้านการบริการ
๓.๔.๑ ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมต่างๆ ที,อยู่ในความ รับผิดชอบในระดับเบื้องต้นแก่ผู้ประกอบการ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจ ได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
๓.๔.๒ จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่ เกี่ยวกับงานวิศวกรรมต่างๆเพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจหน่วยงาน และใช้ประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
วิชาที่สอบ
นายช่างขุดลอกปฏิบัติงาน
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างสำรวจปฏิบัติงาน โดยวิธีการสอบข้อเขียนปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานสำรวจ
– เครืองมือสำรวจ การรังวัดควบคุม การสำรวจภูมิประเทศ การสำรวจระดับ การคำนวณ ปริมาณดิน และงานวางโครงข่ายหมุดหลักฐานแผนที่
๒. ทดสอบความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
– ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างเขียนแบบบปฏิบัติงาน โดยวิธีการสอบข้อเขียนปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเขียนแบบ ประกอบด้วย
– เขียนแบบเบื้องต้น
– เขียนแบบก่อสร้าง
– เขียนแบบสถาปัตยกรรม
– ทฤษฎีโครงสร้าง
– งานคอนกรีตเสริมเหล็ก
– การสำรวจ
– การประมาณราคา
– การบริหารงานก่อสร้าง
๒. ทดสอบความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๔๔๖
– ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๔๖๐
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างโยธาปฏิบัติงาน โดยวิธีสอบ ข้อเขียนแบบปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานโยธา ประกอบด้วย
– ทฤษฎีโครงสร้าง
– งานคอนกรีตเสริมเหล็ก
– การสำรวจและการเขียนแบบ
– การประมาณราคา
– การบริหารงานก่อสร้าง
๒. ทดสอบความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
– ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเช้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน โดยวิธีการสอบข้อเขียนปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับด้านระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบอิเล็กทรอนิคส์
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบควบคุมทางไฟฟ้า
– ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และคำนวณวงจรไฟฟ้า
– ความรู้เกี่ยวกับการตรวจวัดทางไฟฟ้า
– ความรู้เกี่ยวกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
– ความรู้เกี่ยวกับวิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า
– ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง
– ความรู้เกี่ยวกับระบบสายส่งและสายอากาศ ระบบสื่อสารด้วยระบบเส้นใยนำแสง ไมโครเวฟ และดาวเทียม
– ความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบอิเล็กทรอนิคส์
– ความรู้เกี่ยวกับดิจิตอลและคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
– ความรู้ที่เกี่ยวคู่มือระบบไฟฟ้าเป็นภาษาอังกฤษ
๒. ทดสอบความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
– ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน โดยวิธีสอบข้อเขียนปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวข้องกับตำแหน่งนายช่างเครื่องกล
ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือกลโรงงาน
ความรู้เกี่ยวกับการซ่อมแซม บำรุงรักษา เครื่องมือกลโรงงาน เครื่องจักรกลเกษตร และ
ยานพาหนะ
ความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าเบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์
ความรู้เกี่ยวกับการซ่อมบำรุงเครื่องจักรกลและยานพาหนะ
ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน
กลศาสตร์วิศวกรรม
๒. ทดสอบความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๔๔๖
– ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๔๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน โดยวิธีสอบข้อเขียนแบบปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทางด้านอุทกวิทยา ประกอบด้วย
– วัฏจักรนํ้า
– การวัดระดับนํ้า
๒. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทางด้านการสำรวจ ประกอบด้วย
– งานวงรอบ
– งานระดับ
– งานคำนวณ
๓. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทางด้านการสำรวจ ประกอบด้วย
– ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า
๔ . ทดสอบความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
– ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่
แก้ไขเพิ่มเติม
เจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน โดยวิธีการสอบข้อเขียนปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้เกี่ยวกับงานพัสดุ
– ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการพัสดุ
– ความรู้ด้านกฎหมายเกี่ยวกับการพัสดุ
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความ รับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
– พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
– ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แกํไขเพิ่มเติม
๒ . ความรู้เกี่ยวกับจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ
๓ . ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรม Microsoft Office
๔ . ความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. ๒๕๔๖
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเช้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานขนส่งปฏิบัติงาน โดย วิธีสอบข้อเขียนแบบปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปบื้
๑. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวช้องกับตำแหน่งเจ้าพนักงานขนล่ง
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านนํ้าไทย พ.ศ. ๒๔๕๖ และที่แก่ไข เพิ่มเดิม, พระราชบัญญัติเรือไทย, พระราชบัญญัติป้องกันเรือโดนกัน พระราชกำหนดแก่ใขเพิ่มเดิม พระราชบัญญัติเรือไทย พุทธคักราช ๒๔๘๑ พ.ศ.๒๕๖๑ และระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรมเจ้าท่า J/
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. ๒๕๔๖
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไช เพิ่มเดิม
te. ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– ความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรม
เจ้าพนักงานขนส่งปฏิบัติงาน
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเช้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน ปฏิบัติการ โดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้พื้นฐานในวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน
– ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๔๔๑
– ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๔๔๔
– ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบภายใน พ.ศ. ๒๔๔๖
– หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๔๖๑
– หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายใน สำหรับหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ. ๒๔๖๑ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
– พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๔๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับการเงินการคลังภาครัฐ เช่น GFMIS งบประมาณ การเงิน บัญชี และการพัสดุ
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๔๔๖
นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ (ด้านการขนล่งทางนํ้า)โดยวิธีการสอบข้อเขียนปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานนักวิชาการขนล่ง
– ความรู้เบี๋องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านนี้าไทย พ.ศ. ๒๔๔๖ และที่แก้ไข เพิ่มเดิม, พระราชบัญญัติเรือไทย, พระราชบัญญัติป้องกันเรือโดนกัน และระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรมเจ้าท่า
๒. ทดสอบความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ และ ที่แก้ไขเพิ่มเดิม พ.ศ.๒๕๔๘
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรม Microsoft office
– ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
นักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิชาการขนส่งปฏิบัติการ (ด้านนโยบายและแผนงาน) โดยวิธีการสอบข้อเขียนปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ด้งต่อไปนี้
๑. ความรู้เบื้องต้นวิชาการปฏิบัติราชการ เกี่ยวกับงานนักวิชาการขนล่ง
– ความรู้ทางด้านวิชาการเมือง การปกครอง และการบริหารราชการ
– ความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม สถานการณ์ปัจจุบันทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ เทคโนโลยีของประเทศไทยและต่างประเทศ
– ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วย ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทาง ละเมิดของเจ้าหน้าที่ กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารทางราชการ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ระเบียบเกี่ยวกับงานสารบรรณ กฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการ บริหารพัสดุภาครัฐ ระเบียบเกี่ยวกับการงบประมาณ การเงิน การคลัง และพัสดุ
– วิชาความรู้เกี่ยวกับการวางแผนเชิงกลยุทธ์ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ การติดตามและประเมินผล การบริหารเชิงกลยุทธ์ และการบริหารจัดการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
๒. ทดสอบความรู้ทั่วไป และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– วิชาความรู้ความเข้าใจในบทบาทภารกิจของกรมเจ้าท่า
– วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้น
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรม Microsoft office
วิศวกรสำรวจปฏิบัติการ
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งวิศวกรสำรวจปฏิบัติการ โดยวิธี สอบข้อเขียนแบบปรนัย ๑๐๐ ข้อ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้พื้นฐานด้านการสำรวจ ประกอบด้วย
– มาตรฐานของหมุดบังคับทางดิ่ง (Precise Vertical Control)
– หมุดบังคับทางราบ (Precise Horizontal Control)
– การรังวัดด้วยเครื่องวัดระยะและพิกัดอัตโนมัติ (Total Station)
– การรังวัดพิกัดด้วยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม GPS
– การปรับแก้งานรังวัด
– การสำรวจทำแผนที่เพื่อการออกแบบและการก่อสร้างงานโครงสร้างพื้นฐานทางนํ้า เขื่อน ป้องกันตลิ่ง/ชายส่ง ท่าเรือ ขุดลอก
๒. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
– ความรู้ทั่วไปด้านวิศวกรรมโยธา
– ความรู้ด้านวิศวกรรมการบริหารจัดการงานก่อสร้าง
– ความรู้ด้านวิศวกรรมปฐพีกลศาสตร์
– ความรู้ด้านการวางแผนพัฒนาทางนํ้า
๓ . ความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวช้อง
– พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๔๔๖
– ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
วิศวกรปฏิบัติการ
ทดสอบความรู้ความสามารถ ความเช้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งวิศวกรปฏิบัติการ โดยวิธีการสอบ ข้อเขียนแบบปรนัย ๑๐๐ ข้อ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
– ความรู้ทั่วไปด้านวิศวกรรมโยธา
– ความรู้ด้านวิศวกรรมการบริหารจัดการงานก่อสร้าง
– ความรู้ด้านวิศวกรรมสำรวจและออกแบบ
– ความรู้ด้านการวางแผนพัฒนาทางนํ้า
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
– พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
– ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แกไขเพิ่มเดิม
วิธีการสมัครงานข้าราชการ กรมเจ้าท่า :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 25 ก.พ. – 17 มี.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมเจ้าท่า
แผนที่ | file 1 | เว็บรับสมัคร