กรมทรัพยากรน้ำ
ลิงค์: https://ehenx.com/17638/ หรือ
ตำแหน่ง: วิศวกรปฏิบัติการ,วิศวกรเครื่องกล,นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ,นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ,นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ,นักอุทกวิทยาปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี,เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-16,500
อัตราว่าง: 48
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 10 ต.ค. – 3 พ.ย. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ
—
กรมทรัพยากรน้ำ เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ในสังกัดกรมทรัพยากรนํ้า
ด้วยกรมทรัพยากรนํ้า จะดำเนินการสอบแช่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ในตำแหน่งวิศวกรปฏิบัติการ ตำแหน่งวิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ ตำแหน่งนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ ตำแหน่งนักธรณีวิทยาปฏิบัติการ ตำแหน่งนักอุทกวิทยาปฏิบัติการ ตำแหน่งเจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน ตำแหน่งเจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน ตำแหน่งเจ้าพนักงาน โสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน ตำแหน่งเจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน และตำแหน่งนายช่างโยธาปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที, นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การสรรหาโดยการ สอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับ ราชการในสังกัดกรมทรัพยากรนํ้า ดังรายละเอียดต่อไปนี้
วิศวกรปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
- สำนักงานอัยการสูงสุด เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-13 ม.ค. 2568 รวม 27 อัตรา,
- สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิคเขาวง เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ 28 ก.พ. -5 มี.ค. 2568
- กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ บัดนี้-9 ธ.ค. 2567 รวม 6 อัตรา,
- กรมควบคุมมลพิษ เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-13 ธ.ค. 2567 รวม 7 อัตรา,
- สำนักงานประกันสังคม เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-12 ธ.ค. 2567 รวม 10 อัตรา,
วิศวกรเครื่องกล
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 6 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักอุทกวิทยาปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*
เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
เจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 26 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
วิศวกรปฏิบัติการ
ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้
(๑) ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได็ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ และ (๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรี หรือระดับที่สูงกว่า
วิศวกรเครื่องกล
ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้
(๑) ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมเครื่องกล
(๒) ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด และ
(๓) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรี
หรือระดับที่สูงกว่า
นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ
ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้
(๑) ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้!นระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาหนึ่ง ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ทางเทคโนโลยีไฟฟ้า หรือทางเทคโนโลยีเครื่องกล สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ และสถิติ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรี หรือระดับที่สูงกว่า
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้
(๑) ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรี หรือระดับที่สูงกว่า
นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ
ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้
(๑) ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้!นระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางฟิสิกส์ ทางธรณีวิทยา ทางอุทกวิทยา หรือทางเทคโนโลยีธรณี หรือสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางเทคโนโลยีธรณี หรือทางวิศวกรรมทรัพยากรธรณี และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรี หรือระดับที่สูงกว่า
นักอุทกวิทยาปฏิบัติการ
ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้
(๑) ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมโยธา หรือทางวิศวกรรมชลประทาน สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางสมุทรศาสตร์ ทางสมุทร ศาสตร์สกายะและเคมี ทางวิทยาศาสตร์ทั่วไป ทางภูมิศาสตร์ หรือทางฟิสิกส์ หรือสาขาวิชาคณิตศาสตร์ และสถิติ ทางคณิตศาสตร์ หรือทางสถิติ และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรี หรือระดับที่สูงกว่า
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
(๑) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี หรือสาขาวิชาการเงินและการธนาคาร และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือระดับที่สูงกว่า
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
(๑) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา หรือ
(๒) ได้รับอนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปึ หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา
และ
(๓) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ขั้นสูง (ปวส.) หรือระดับอนุปริญญา หรือระดับที่สูงกว่า
เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน
ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้
(๑) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที,เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและวิดีทัศน์ สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือระดับที่สูงกว่า
เจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน
ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้
(๑) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาการก่อสร้าง หรือสาขาวิชาสำรวจ และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือระดับที่สูงกว่า
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้
(๑) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง และ
(๒) เป็นผู้สอบห่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือระดับที่สูงกว่า
วิศวกรปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑) ด้านปฏิบัติการ
(๑) ตรวจสอบแผนผัง แผนปฏิบัติการ โครงสร้าง รายการคำนวณ รูปแบบทางวิศวกรรมต่างๆ ในงานที่รับผิดชอบให้ถูกต้องตามหลักกฎหมาย หลักวิชาการและมาตรฐานสากล เพื่อให้เกิดความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
(๒) หาข้อมูลและตรวจสอบกรณีเกิดอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรม สถานประกอบการการจราจร และขนส่ง เพื่อช่วยประสานการกู้ภัยและพิจารณาสั่งการให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(๓) ด้นคว้า ทดลอง และตรวจสอบการใช้พลังงานในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อการ อนุรักษ์ ประหยัดและปลอดภัยในการใช้พลังงานของประเทศ
(๔) สำรวจ ออกแบบ วิเคราะห์ ค้นคว้า ทดสอบและตรวจสอบ ปริมาณนํ้า คุณภาพนํ้า ระบบ ประปา และแหล่งนํ้าธรรมชาติ เพื่อปฏิบัติการอนุรักษ์ ส้นฟูแหล่งนํ้าในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
(๕) สาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับงานวิศวกรรม และการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยประยุกต์ เทคโนโลยีที,เหมาะสมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีสากล เพื่อเพิ่มศักยภาพของท้องถิ่นและการมี ส่วนร่วมในงานวิศวกรรม และการจัดการกับสิ่งแวดล้อม
(๖) ตรวจสอบ ควบคุม กำกับ ดูแล การประกอบกิจการ เพื่อให้การดำเนินงานของสถาน ประกอบการถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่วางไว้
(๗) ตรวจสอบ การขอจดทะเบียน การแจ้ง การขออนุญาต ตั้ง ขยาย ย้าย ยกเลิก ต่อใบอนุญาต การประกอบกิจการ เพื่อให้การประกอบกิจการเป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้
(๘) ปฏิบัติงาน กำกับดูแลการซ่อมบำรุงรักษา ผลิตและสอบเทียบ เครื่องมือและอุปกรณ์ วิทยาศาสตร์ ระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสารและเครื่องจักรกล เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๙) ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบ และกำหนดรูปแบบรายการ เครื่องมือ และอุปกรณ์ วิทยาศาสตร์ ระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสาร และเครื่องจักรกล เพื่อการผลิตและการพัฒนาและปรับปรุง ประสิทธิภาพการทำงาน
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมต่างๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแกผู้ประกอบการ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบ ข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ งานวิศวกรรมต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการพิจารณากำหนด นโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
วิศวกรเครื่องกล
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใซัความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมเครื่องกล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) วางโครงการ ออกแบบ คำนวณ ควบคุมการสร้างหรือการผลิต อำนวยการใช้ กำหนดมาตรฐาน ประเมินราคา ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบ หรือซ่อมบำรุง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนด .
(๒) ศึกษา วิจัย พัฒนา และปรับปรุงงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้งานมีคุณภาพและมีมาตรฐานที่ดี
(๓) รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลด้านงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้งานมีคุณภาพและ ประสิทธิภาพที่ดี
(๔) จัดทำข้อกำหนดและรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (ร|ว6๗ไ(ะลป(วกร) ด้านวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันตั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ และตอบปัญหาด้านงานวิศวกรรมเครื่องกลในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ เพื่อใช้ ประกอบการกำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑) ด้านปฏิบัติการ
(๑) ศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญ จัดทำ ฐานข้อมูลท้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาท้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรฟิกอบรมและถ่ายทอดความรู้และร่วมดำเนินการ จัดฟิกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
๒) ต้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำเบื้องต้นทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการ ส่วนราชการ และประชาชนผู้สนใจทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ และนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(๒) เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ ผู้เกี่ยวข้อง
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิเคราะห์นโยบายและแผน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑) ต้านปฏิบัติการ
(๑) รวบรวม วิเคราะห์ และประมวลนโยบายของรัฐบาลและสถานการณ์เศรษฐกิจการเมือง และสังคม ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาสรุปเสนอประกอบการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของ ส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง
(๒) รวบรวมข้อมูล และศึกษาวิเคราะห์เทั้องต้น เกี่ยวกับภารกิจหลักและแผนกลยุทธ์ของ ส่วนราชการ หรือทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เพื่อวางแผนกำหนดแผนการปฏิบัติงาน หรือโครงการให้สามารถบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้
(๓) วิเคราะห์นโยบายของส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง และเสนอข้อคิดเห็น เพื่อช่วยจัดทำแผนการปฏิบัติงาน แผนงาน โครงการ หรือ กิจกรรมได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
(๔) สำรวจ รวบรวม และประมวลผลข้อมูลการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและประเด็นปัญหา ทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำแผนงานหรือกำหนด ยุทธศาสตร์
(๕) ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์และนโยบายของรัฐบาล เพื่อประกอบการ เสนอแนะแนวทางการประสานผลักดันยุทธศาสตร์และนโยบาย ตลอดจนการติดตามประเมินผลให้สอดคล้อง ไปในแนวทางเดียวกัน
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานทีรับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓) ต้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก,บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านบริการ
(๑) รวบรวมข้อมูล เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการจัดทำแผนงานโครงการ
(๒) ให้คำปรึกษา แนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจงเรื่องตำงๆ เกี่ยวกับงานนโยบายและแผน เพื่อแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน
นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที,ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านธรณีวิทยา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ศึกษา วิจัย ทางธรณีวิทยาทั่วไปในด้านธรณีวิทยารากฐาน ธรณีวิทยาแหล่งแร, ธรณี ฟิสิกส์ ธรณีเคมี ธรณีวิทยาเชื้อเพลิงธรรมชาติ วิศวกรรมธรณีวิทยา ปฐพีและธรณีวิทยา ธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม และอุทกธรณีวิทยา เพื่อจัดทำรายงานผลการสำรวจเบื้องต้น จัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูล จัดทำแผนที่ทาง ธรณีวิทยาและใช้ประกอบการตัดสินใจวางแผนบริหารจัดการทรัพยากรธรณี
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาคุณภาพทรัพยากรธรณี เช่น แร่และหิน ปิโตรเลียม ถ่านหิน นํ้าบาดาล เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ทั้งการอุปโภคบริโภค รวมถึงเป็นวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมและ อุตสาหกรรมพื้นฐานต่างๆ
(๓) ศึกษา รวบรวม และประมวลผลข้อมูลสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรณี เพื่อการสงวน อนุรักษ์ ฟืนฟูและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรณี รวมถึงการกำหนดขอบเขตพื้นที่เสี่ยงภัยและการวางแผนมาตรการ ป้องกันเฝืาระวังภัย
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมถุทธิ๋ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำปรึกษาในเบื้องต้นและเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการด้านธรณีวิทยาและอุทก ธรณีวิทยาแก,หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการอย่าง มีประสิทธิภาพ
(๒) ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำเอกสาร ตำรา คู่มือ สื่อ เอกสารเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ เพื่อการ เรียนรู้ และการทำความเข้าใจเรื่องต่างๆ ด้านธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยา
นักอุทกวิทยาปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการอุทกวิทยา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านปฏิบัติการ
(๑) เก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามและวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณตะกอน ระดับหรือปริมาณนํ้า ระดับ และปริมาณฝน เพื่อประมวลหาค่าต่างๆ ทางอุทกวิทยาและจัดทำสถิติ ฐานข้อมูลที่มีประโยชน์ ในศึกษาวิจัย ด้านอุทกวิทยา การพยากรณ์ปริมาณนํ้า วางแผนการพัฒนาแหล่งนํ้า หรือการจัดทำหนังสือสถิติประจำปี
(๒) ช่วยวิเคราะห์วิจัยเกี่ยวกับพฤติการณ์ของนํ้าท่า นํ้าฝน และอุตุนิยมวิทยา อุทกวิทยา ตลอดจน การผันแปร การหมุนเวียน และการตกตะกอนของนํ้า เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการบริหารจัดการนํ้า การออกแบบเชิงอุทกวิทยา และการขุดคลองร่องนํ้า การขุดลอกตะกอนในอ่างเก็บนํ้า
(๓) ช่วยค้นคว้าเรื่องต่างๆ เพื่อประกอบการวิเคราะห์วิจัยทางอุทกวิทยา การวางหลักเกณฑ์ในการ ดำเนินการสำรวจ และวิเคราะห์วิจัยเกี่ยวกับงานอุทกวิทยา
(๔) ช่วยศึกษาและติดตามคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้า เพื่อหาสาเหตุของการเสื่อมโทรมของนํ้า และแนะนำแนวทางแก้ปัญหาทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
(๕) ตรวจสอบ ซ่อมแซม บำรุงรักษาเครื่องมือสำรวจทางอุทกวิทยาและอุตุนิยมวิทยาที่ใช้ ในการสำรวจงานอุตุ-อุทกวิทยา เพื่อให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนด
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธํ่ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านบริการ
ให้บริการเผยแพร่ด้านอุทกวิทยาให้หน่วยราชการหรือผู้สนใจ เพื่อประกอบการค้นคว้า และเผยแพร่ ความรู้ทางวิชาการอุทกวิทยาให้แพร่หลายยิ่งขึ้น
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านการเงินและบัญชี ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไป ตามเป้าหมายที่กำหนด
(๒) รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบในการทำงบประมาณประจำปีของ หน่วยงาน
(๓) ตรวจสอบและดูความถูกต้องของเอกสารสำคัญทางการเงิน เพื่อให้เกิดความถูกต้อง ในการปฏิบัติงาน
(๔) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไปเพื่อขอ ความช่วยเหลือและร่วมมือในงานและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชียวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ของหน่วยงาน
๒) ต้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี แก,เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความ ช่วยเหลือและความร่วมมือในงานการเงินและบัญชี และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที,เป็นประโยชน์ ต่อการทำงานของหน่วยงาน
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน พัสดุ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงาน อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑) ด้านปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุในการจัดหา จัดซื้อ ว่าจ้าง การเก็บรักษา นำส่ง การซ่อมแซม และบำรุงรักษาพัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อให้อยู่ในสภาพดีพร้อมต่อการใช้งาน
(๒) ทำทะเบียนการเบิกจำยพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญหลักฐานและเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
(๓) ร่างและตรวจซื้อสัญญาซื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึกย่อเรื่องเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อเป็น หลักฐานในการดำเนินงาน
(๔) รายงาน สรุปความเห็นเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผู้บังคับบัญชา ในหน่วยงาน
(๕) ศึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับระเบียบงานพัสดุ เพื่อร่วมพัฒนาให้ระเบียบการปฏิบัติงาน มีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น
(๖) ชี้แจงรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับงานพัสดุให้การปฏิบัติงานมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้
๒) ด้านบริการ
(๑) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบแก,ผู้ร่วมงาน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกัน ต่างหน่วยงาน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการ หรือขอความช่วยเหลือในด้านที่ตนรับผิดชอบ
เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ
เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน โสตทัศนศึกษา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำแผนภาพ แผนภูมิ กร๊าฟ โปสเตอร์แผนที่และตารางแสดงสถิติข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้ ในการประชุม สัมมนา ฟิกอบรม และการแสดงนิทรรศการต่างๆ
(๒) ใช้และควบคุมการใช้เครื่องโสตทัศนูปกรณ์ ประเภทต่างๆ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องฉาย ภาพนิ่ง เครื่องเสียงต่างๆ เพื่อประกอบการประชุมสัมมนา หรือฟิกอบรมต่างๆ
(๓) เก็บรักษาซ่อมบำรุงโสตทัศนูปกรณ์
(๔) ติดตาม รวบรวมและจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒) ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
(๒) ให้คำแนะนำ ข้อมูล และให้บริการในเรืองทีอยู่ในความรับผิดชอบในประเด็นที่ไม่มี ความซับซ้อน ภายใต้กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือวิธีปฏิบัติที,ชัดเจน หรือภายใต้การควบคุมดูแล ของผู้บังคับบัญชา
เจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านอุทกวิทยา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านปฏิบัติการ
(๑) สำรวจข้อมูลด้านอุทกวิทยาเพื่อจัดเก็บเป็นสถิติด้านทรัพยากรนํ้าไว้วิเคราะห์ทางอุทกวิทยา
(๒) ประมวลและตรวจสอบข้อมูลสถิติ ด้านอุทกวิทยาเพื่อให้ได้ค่าที่ลูกต้องน่าเชื่อถือสามารถใช้เป็น ข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์วิจัยได้
(๓) ตรวจสอบ และรวบรวมรายงานทางด้านอุทกวิทยาในแต่ละเดือนเพื่อส่งรายงานให้กับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการนำไปวิเคราะห์และพยากรณ์ต่อไป
(๔) ปรับปรุง ซ่อมแซม สถานีสำรวจข้อมูลด้านอุทกวิทยาและอุตุวิทยาเพื่อให้มีสภาพที่ดี และพร้อมใช้งาน
(๕) ดำเนินการเสนอข้อสารสนเทศด้านอุทกวิทยาผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องนำไปวิเคราะห์และพยากรณ์ให้ทันต่อสถานการณ์
๒) ด้านบริการ
(๑) ประสานงานกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว และ มีประสิทธิภาพสูง
(๒) บริการข้อมูลทางอุทกวิทยาแก่หน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่างๆ เพื่อให้ตรงตามหลัก วิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงาน และงบประมาณที่ได้รับ
(๒) ตรวจสอบ แก่ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้การ ดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
(๔) ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
(๕) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง
๒) ด้านบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและฝึกอบรมเกี,ยวกับงานโยธาทีตนมีความรับผิดชอบแก่ ผู้(ต้บังคับบัญชา หรือเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจ ได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ และมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชนหรือประชาชนทั่วไปเพื่อขอความ ช่วยเหลือและร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต,อการทำงาน ของหน่วยงานและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
วิศวกรปฏิบัติการ
(๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยวิธีการ สอบข้อเขียน เนื้อหาการสอบครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
– ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ที่จำเป็น
– ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการออกแบบ การทดสอบและตรวจสอบด้านวิศวกรรม
– ความรู้เกี่ยวกับกลศาสตร์ของไหลเบื้องต้น
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไข เพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติทรัพยากรนํ้า พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรนํ้า
(๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน )
เป็นการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ทวงท่าวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิงแวดล้อม ความคิดริเริมสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
วิศวกรเครื่องกล
(๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยวิธีการ สอบข้อเขียน เนื้อหาการสอบครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
– ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องจักรกล (1/เลดเาเกด อดรเรูก)
– ความรู้เกี่ยวกับการถ่ายเทความร้อน (แด31 Iโลกดโ)
– ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการพลังงาน การออกแบบการควบคุม การบำรุงรักษา และการใช้ เครื่องจักรกล พลังงานยุคใหม่และพลังงานทดแทน
– ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบทางวิศวกรรม การวางแผนและการควบคุมการใช้เครื่องจักรงาน ก่อสร้าง และการใช้เครื่องจักรกลงานก่อสร้าง และการใช้เครื่องสูบส่งกระจายนํ้า
– ความรู้เกี่ยวกับงานช่างเครืองกล เครื่องยนต์และเครื่องจักรกล การซ่อมแซมและบำรุงรักษา เครื่องจักรกลและ ยานพาหนะ ระบบส่งกำลังและเครื่องล่างรถยนต์ และระบบไฟฟ้ารถยนต์
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก่ไขเพิ่มเติม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไข เพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติทรัพยากรนํ้า พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๘
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรนํ้า
(๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน )
เบีนการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตํ่ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท,วงท่าวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อใหํได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ
(๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยวิธีการ สอบข้อเขียน เนื้อหาการสอบครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
– ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาการวิทยาศาสตร์ ความรู้พื้นฐานทางเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์
– ความรู้เกี่ยวกับการตรวจวิเคราะห์คุณภาพนํ้า
– ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือวิเคราะห์ทางเคมี และเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่ใชในห้องปฏิบัติการ
– ความรู้เกี่ยวกับระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ เร(ว/เ^ 17025
– ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ติดตามประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
– ภาษาอังกฤษเพื่อการคันคว้าในการทำการวิจัยเบื้องต้น
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แกไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไข เพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติทรัพยากรนํ้า พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรนํ้า
(๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน )
เป็นการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งทีจะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ พ่วงท่าวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริมสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที,มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
(๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยวิธีการ สอบข้อเขียน เนื้อหาการสอบครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
– พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
– เหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
– ความรู้ความเข้าใจด้านการกำหนดยุทธศาสตร์
– ความรู้ความเข้าใจในการกำหนดตัวชี้วัด
– ความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ
– ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน การตั้งงบประมาณประจำปี การจัดทำแผนงาน โครงการ การบริหารแผนงานโครงการ การวิเคราะห์และการติดตามประเมินผลโครงการและการปฏิบัติงาน
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที,แก้ไข เพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติทรัพยากรนื้า พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรนํ้า
(๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน )
เป็นการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที,จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท,วงท่าวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริมสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ
(๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยวิธีการ สอบข้อเขียน เนื้อหาการสอบครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
– ความรู้เกี่ยวกับอุทกธรณีวิทยา
– ความรู้เกี่ยวกับธรณีฟิสิกส์
– ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ทางด้านฐานข้อมูล และการทำแผนที่
– ความรู้เกี่ยวกับวิศวกรรมธรณี
– ความรู้เกี่ยวกับวิศวกรรมวิศวกรรมปฐพีและฐานราก
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แกไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แกไข เพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติทรัพยากรนํ้า พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรนํ้า
(๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน )
เป็นการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งทั่ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ทวงท่าวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริมสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อใท้ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
นักอุทกวิทยาปฏิบัติการ
(๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) เนื้อหาการสอบครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
– ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาอุทกวิทยา
– ความรู้เกี่ยวกับวิชาสำรวจข้อมูลอุทกวิทยา
– ความรู้เกี่ยวกับสถิติและระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ
– ความรู้เกี่ยวกับแบบจำลองอุทกวิทยา
– แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แกไขเพิ่มเติม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไข เพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติทรัพยากรนื้า พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรนํ้า
(๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน )
เป็นการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งทั่ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ทวงท่าวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริมสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อใหํใด้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
(๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยวิธีการ สอบข้อเขียน เนื้อหาการสอบครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วน
ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๓
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เบื้องด้นเกี่ยวกับบัญชี
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แกิไขเพิ่มเติม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติทรัพยากรนํ้า พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรนํ้า
(๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน )
เป็นการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท,วงท่าวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริมสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
เจ้าพนักงา(๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยวิธีการสอบ ข้อเขียน เนื้อหาการสอบครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิด ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.
๒๕๖๐
– ความรู้เกี่ยวกับกฎกระทรวงตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.
๒๕๖๐
– ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านพัสดุ และจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติทรัพยากรนํ้า พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรนํ้า
(๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน )
เป็นการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงานประสบการณ์ ทวงทำวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อมความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแช่งขันเพื่อใหใด้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
นพัสดุปฏิบัติงาน
เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาปฏิบัติงาน
(๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยวิธีการ สอบข้อเขียน เนื้อหาการสอบครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
– ความรู้ในการออกแบบ และจัดทำแผนภาพ แผนภูมิ กราฟ โปสเตอร์แผนที่และตารางแสดง สถิติข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้ในการประชุม สัมมนา ฟิกอบรม การแสดงนิทรรศการต่างๆ และการประชาสัมพันธ์
– ความรู้ทั่วไป…
-๒-
– ความรู้ทั่วไปในการใช้และการบำรุงรักษาเครื่องโสตทัศนูปกรณ์ประเภทต่างๆ เข่น เครื่องฉาย เครื่องขยายเสียงต่างๆ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
– ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมด้านการจัดทำสื่อวิดีทัศน์ การถ่ายภาพ การถ่ายวิดีโอ การพิมพ์ การออกแบบโฆษณาและสื่อสิ่งพิมพ์
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แกไขเพิ่มเติม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติทรัพยากรนํ้า พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรนํ้า
(๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน )
เป็นการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ทวงท่าวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อใหใด้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
เจ้าพนักงานอุทกวิทยาปฏิบัติงาน
(๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยวิธีการ สอบข้อเขียน เนื้อหาการสอบครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานทางด้านอุทกวิทยา
– ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานโยธาและงานสำรวจ
– พระราชบัญญัติระเบียบช้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แกไชเพิ่มเติม
– ความรู้เกี่ยวกับ…
-1ย-
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติทรัพยากรนํ้า พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรนํ้า
(๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน )
เป็นการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งทีจะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท,วงท่าวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิงแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้
(๑) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง และ
(๒) เป็นผู้สอบห่านการวัดความความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือระดับที่สูงกว่า
หลักสูตรและวิธีการสอบแช่งขัน
(๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยวิธีการ สอบข้อเขียน เนื้อหาการสอบครอบคลุมหัวข้อดังต่อไปนี้
– ความรู้เกี่ยวกับการสำรวจ การเขียนแบบ การประมาณราคาการก่อสร้าง และปรับปรุง ซ่อมแซม
– ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบวัสดุ ปฐพีกลศาสตร์ และคอนกรีตเทคโนโลยี
– ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนการบริหารงานก่อสร้าง การควบคุมงานและการตรวจงานก่อสร้าง กฎหมายและสัญญาก่อสร้าง การอำนวยความปลอดภัยในงานก่อสร้าง การปฏิบัติงานก่อสร้าง และเครื่องจักรกลในงานก่อสร้าง
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติทรัพยากรนํ้า พ.ศ. ๒๕๖๑
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับบทบาทและภารกิจของกรมทรัพยากรนํ้า
(๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน )
เป็นการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งทีจะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท,วงทำวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริมสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให์ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 10 ต.ค. – 3 พ.ย. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร