สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 17 พ.ค. -14 มิ.ย. 2565 รวม 99 อัตรา,

แชร์เลย

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

ลิงค์: https://ehenx.com/16813/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน,นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน,นายช่างปฏิบัติงาน,นายช่างปฏิบัติงาน,นิติกรปฏิบัติการ,วิทยากรปฏิบัติการ,นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ,นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ,นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ,นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ,นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ,นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ,นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ,นักวิชาการช่างศิลป์ปฏิบัติการ,บรรณารักษ์ปฏิบัติการ,นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ
ระดับการศึกษา: ปวช.,ปวช.ทุกสาขา,ปวช.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 9,400-15,000
อัตราว่าง: 99
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 17 พ.ค. – 14 มิ.ย. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**



สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เปิดรับสมัคร

ประกาศสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ

ด้วยสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ เป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ ในตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ หนังสือคณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา ที่ ๔/๒๕๕๘ (ว ๑) ลงวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๘ เรื่อง การสรรหา โดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ และที่ ๕๙/๒๕๖๑ (ว ๑๕) ลงวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๑ เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเดิมหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการสอบแข่งขัน การขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ และรายละเอียด. เกี่ยวกับการสอบแข่งขัน จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 16 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400- บาท

คุณวุฒิ : ปวช.


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 19 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400- บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400- บาท

คุณวุฒิ : ปวช.


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400- บาท

คุณวุฒิ : ปวช.


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400- บาท

คุณวุฒิ : ปวช.


นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400- บาท

คุณวุฒิ : ปวช.


นายช่างปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400- บาท

คุณวุฒิ : ปวช.


นายช่างปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400- บาท

คุณวุฒิ : ปวช.


นิติกรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 14 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิทยากรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 6 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 9 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการช่างศิลป์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


บรรณารักษ์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือเลขานุการ หรือทางพาณิชยกรรม และ
๒. มีความสามารถในการจดรายงานการประชุม และถอดถ้อยคำเป็นตัวพิมพ์ มีความสามารถ ใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ทีใฃ้กับเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ได้อย่างเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน รวมทั้งพิมพ์ภาษาไทยได้ในอัตราความเร็วนาทีละไม่น้อยกว่า ๓๕ คำ และพิมพ์ ภาษาอังกฤษได้ในอัตราความเร็วนาทีละไม่น้อยกว่า ๒๕ คำ และ
๓. เป็นผู้สอบผ่านการวัดคว”าม่รู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไป


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวข.) ในทุกสาขาวิชา และ
๒. มีความสามารถใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใข้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม และสามารถพิมพ์ดีดภาษาไทยไม,น้อยกว่านาทีละ ๒๕ คำ และภาษาต่างประเทศ ไม่น้อยกว่านาทีละ ๒๕ คำ และ
๓. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไป


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาบัญชี หรือพณิชยการ หรือเลขานุการ หรือ ช่างโยธา หรือช่างก่อสร้าง หรือช่างเครื่องยนต์ หรือช่างกลโรงงาน และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไป


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

๑. ไต้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาชาวิชาทางบัญชี หรือพณิชยการ หรือเลชานุการ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไป


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

ด. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาช่างไพ่ฟ้า หรือช่างอิเล็กทรอนิกส์ หรือซ่างฺยนต์ หรือช่างกลโรงงาน หรือช่างวิทยุและโทรคมนาคม หรือคอมพิวเตอร์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิขาชีพ (ปวช.) ขึ้นไป


นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาทางศิลปกรรม หรือวิจิตรศิลป้ หรือศิลปประยุกต์ หรือออกแบบผลิตภัณฑ์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไป


นายช่างปฏิบัติงาน

๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาทางช่างยนต์ หรือช่างกลโรงงาน หรือ ช่างกลโลหะ หรือช่างไฟฟ้า หรือช่างวิทยุ หรือช่างก่อสร้าง หรือช่างสำรวจ หรือช่างโยธา และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไป


นายช่างปฏิบัติงาน

๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (บํวช.) ในสาขาวิชาทางช่างยนต์ หรือช่างกลโรงงาน หรือ ช่างกลโลหะ หรือช่างไฟฟ้า หรือช่างวิทยุ หรือช่างก่อสร้าง หรือช่างสำรวจ หรือช่างโยธา และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ขึ้นไป


นิติกรปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชานิติศาสตร์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


วิทยากรปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิขาทางสังคมศาสตร์ หรือทางวิทยาศาสตร์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือรัฐศาสตร์ หรือรัฐประศาสนศาสตร์ หรือกฎหมายระหว่างประเทศ หรือเศรษฐศาสตร์ หรืออักษรศาสตร์ หรือภาษาศาสตร์ และ
๒. มิความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี และ
๓. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาบัญชี หรือพณิชยศาสตร์ หรือบริหารธุรกิจ หรือเศรษฐศาสตร์ หรือนิติศาสตร์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาชาวิชาการบัญชี หรือพาณิชยศาสตร์ หรือบริหารธุรกิจ หรือเศรษฐศาสตร์ โดยต้องศึกษาวิชาบัญชีมาไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาการบัญชี หรือพาณิชยศาสตร์ หรือบริหารธุรกิจ หรือเศรษฐศาสตร์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชานิเทศศาสตร์ หรือสื่อสารมวลชน และ
๒. เป็นผู้มีเสียงเหมาะสมสำหรับใช้ในการกระจายเสียง และ
๓. เป็นผู้สอบผ่านการวัดคร่ามืรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาโสตทัศนศึกษา หรือนิเทศศาสตร์ หรือว่ารสารศาสตร์ หรือ สื่อสารมวลชน หรือเทคโนโลยีการศึกษา หรือเวชนิทัศน์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักวิชาการช่างศิลป์ปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาศิลปกรรม หรือมัณฑนศิลป้ หรือวิจิตรศิลป้และประยุกต์ศิลป้ หรือ สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


บรรณารักษ์ปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ หรือบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ หรือสารสนเทศศึกษา หรือสารนิเทศศาสตร์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หรือบริหารธุรกิจ หรือบริหารรัฐกิจ หรือรัฐศาสตร์ หรือรัฐประศาสนศาสตร์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านจดรายงานการประชุมต่าง ๆ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(ด) ปฏิบัติงานจดรายงานการประชุมต่าง ๆ ด้วยวิธีการที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสม กับการปฏิบัติงาน และถอดถ้อยคำเป็นตัวพิมพ์ โดยใช้ความรู้ความสามารถในการใช้คำที่ถูกต้องตามหลักวิชา ภาษาไทย และรวบรวมเป็นรายงานการประชุม
(๒) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒. ด้านการบริการ
(ด) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ บันทึกข้อมูล หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ข้ดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบันทึกข้อมูลและพิมพ์งาน งานบริการทั่วไป เข่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือโต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม เพื่อสนับสนุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวก ราบรื่น และมีหลักฐานตรวจสอบได้
(๒) รวบรวมข้อมูล จัดทำทะเบียน ควบคุม ปริมาณและการจัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐาน หนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราขการ
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไวิใช้งาน และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
(๔) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะ และปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราขการ เพื่อให่ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
(๓) บันทึกข้อมูล พิมพ์งาน หรือผลิตเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจ ของหน่วยงาน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานพัสดุ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และ วิธีการที่ซัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่โด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(ต) ปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุในการจัดหา จัดซื้อ ว่าจ้าง การเก็บรักษา นำส่ง การซ่อมแซม และบำรุงรักษาพัสดุครุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อให้อยู่ในสภาพดีพร้อมต่อการใช้งาน
(๒) ทำทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญหลักฐาน และเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
(๓) ร่าง และตรวจสัญญาซื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึกย่อเรื่องเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินงาน
(๔) รายงาน สรุปความเห็นเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผู้บังคับบัญชาใน หน่วยงาน
(๕) ศึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับระเบียบงานพัสดุ เพื่อร่วมพัฒนาให้ระเบียบการปฏิบัติงาน มืประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น
(๖) ซื้แจงรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับงานพัสดุให้การปฏิบัติงานมีความโปร่งใสตรวจสอบได้
๒. ด้านการบริการ
(ต) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบแก่ผู้ร่วมงาน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกัน ต่างหน่วยงาน หรือประชาชนทั่วไปเพื่อให้ บริการ หรือขอความช่วยเหลือในด้านที่ตนรับผิดชอบ


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี ตามแนวทางแบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไปตาม เป้าหมายที่กำหนด
(๒) รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบในการทำงบประมาณประจำปี ของหน่วยงาน
(๓) ตรวจสอบและดูความถูกต้องของเอกสารสำคัญทางการเงิน เพื่อให้เกิดความถูกต้องในการปฏิบัติงาน
(๔) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงาน
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพี่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความ ช่ว.ยเหลือและความร่วมมือในงานการเงินและบัญชี และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ ต่อการทำงานของหน่วยงาน


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านเครื่องคอมพิวเตอร์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
ด. ด้านการปฏิบัติการ
(ด) ควบคุม ดูแล ติดตั้ง บำรุงรักษา ซ่อมแชม ตรวจสอบการทำงาน แก้ไขปัญหาการใช้งานของ ระบบเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ระบบเครือข่ายสื่อสาร รวมทั้งระบบสนับสนุนต่าง ๆ เพื่อให้ ระบบงานต่าง ๆ สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
(๒) ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล ปรับปรุง ดูแล รักษาความปลอดภัย จัดเก็บสำรอง กู้คืนข้อมูล เพื่อสนับสนุนการใช้ประโยชน์ข้อมูล และป้องกันการสูญหายของข้อมูล
(๓) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
๒. ด้านการบริการ
(ด) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการ ทั้งภายในและภายนอก หน่วยงาน เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานเพื่อประกอบ การปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ


นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านช่างศิลป็ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ออกแบบงานศิลป็ บอร์ด ป้ายประกาศ ป้ายโฆษณา ฉาก เวทีของหน่วยงาน ผังสถานที่ สื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพ สวยงาม และสื่อความได้เป็นอย่างดี
(๒) ดูแล จัดเก็บ บำรุงรักษา ซ่อมแซมวัสดุอุปกรณ์การทำงานให้เป็นระบบ เพื่อให้อุปกรณ์อยู่ใน สภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ การออกแบบ เทคนิค การจัดงานศิลป้ การจัดนิทรรศการแก่บุคลากร ทั้งภายในและภายนอก เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในงานศิลป้
(๒) ช่วยจัดทำลื่อสิ่งพิมพ์ คู่มือ หนังสือ แผ่นพับและนิทรรศการ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เสริมสร้างภาพพจน์ และส่งเสริมการออกแบบงานศิลป้


นายช่างปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานช่างทางใดทางหนึ่ง ตามแนวทางแบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ (ปฏิบัติงานทางช่างไฟฟ้า)
(๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุมการใช้งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า สื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ตอบสนอง ความต้องการของหน่วยงานภายในและภายนอก
(๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
(๓) ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการออกใบรับรองตามที่หน่วยงาน หรือกฎหมายกำหนด
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไป ด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
(๒) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหาให้แก่ผู้รับบริการ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ


นายช่างปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานช่างทางใดทางหนึ่ง ตามแนวทางแบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติ!ในด้านต่าง .ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ (ปฏิบัติงานทางช่างโยธา)
(ด) สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อให้ตรงตาม หลักวิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงาน และงบประมาณที่ได้รับ
(๒) ตรวจสอบ แกัไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้การ ดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
(๔) ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
(๕) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง
๒. ด้านการบริการ
(ด) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไป ด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
(๒) ให้คำแนะนำ ตอมปัญหา แก้ไขปัญหาให้แก่ผู้รับบริการ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ


นิติกรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านนิติการ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับบัญชาในการตอบข้อหารือหรือวินิจฉัยปัญหากฎหมายเกี่ยวกับระเบียบ ของทางราชการที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนการพิจารณาของผู้บังคับบัญชา
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยเพื่อปรับปรุงกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้ทันกับสถานการณ์ และอำนวยความสะดวกในการทำงานโดยพิจารณาถึงความเหมาะสมและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย
(๓) ศึกษาข้อมูล รวบรวม แสวงหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย เสนอความเห็นในการดำเนินการ เรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับวินัยข้าราชการ การร้องทุกข์ การพิทักษ์ระบบคุณธรรม รวมถึงการดำเนินการใด ๆ ตามกฎหมาย ปกครองที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการ และการดำเนินคดีของหน่วยงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และสามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
(๔) ปฏิบัติงานฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการด้านกฎหมายเพื่อจัดประชุมเสนอความเห็น จัดทำระเบียบวาระ และรายงานการประชุม
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษาแนะนำด้านกฎหมาย การร่างหรือแก้ไขเพิ่มเดิม กฎหมาย ญัตติ กระทู้ถามแก, สมาชิกรัฐสภา บุคคล หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างควานเข้าใจในข้อกฎหมายที่เป็นปัญหา และให้ความรู้ ถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับการดำเนินงานของบุคคลหรือหน่วยงานดังกล่าว


วิทยากรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบติงานด้านวิทยาการ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับม.อบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) พิจารณา ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในและต่างประเทค ประกอบการให้บริการ ทางวิชาการสาขาต่าง ๆ เพื่อประกอบกๆรพิจารณาของสมาชิกรัฐสภา และบริการให้ความรู้แก่สมาชิกรัฐสภา หรือส่วนราชการ
(๒) ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ และตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศเพื่อประกอบการดำเนินงาน เกี่ยวกับการให้บริการทางวิชาการสาขาต่าง ๆ
(๓) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประกอบการกำหนดความต้องการและความจำเป็น ในการพัฒนางานบริการทางวิขาการ รวมถึงการวางแผนและเสนอแนะนโยบายหรือยุทธศาสตร์การพัฒนา การบริการทางวิชาการของส่วนราชการ
(๔) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาการร่าง หรือปรับปรุง แก่ไข พระราชบัญญัติ กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ญัตติ กระทู้ถาม และงานบริการวิชาการด้านอื่น ๆ
(๕) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล ติดตามการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหารตามโครงการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โครงการต่าง ๆ ที่ได้รับอนุมัติจากรัฐสภาตามงบประมาณรายจ่ายประจำปี และนโยบาย ตามที่ฝ่ายบริหารได้แถลงไว้กับรัฐสภา
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป๋าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ขี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่สมาชิกรัฐสภา บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ขี้แจง ตอบปัญหาเบื้องต้นแก่สมาชิกรัฐสภา กรรมาธิการ และบุคคลในวงงานรัฐสภา หรือหน่วยงานราขการ เอกชน ข้าราชการพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือประชาขนทั่วไป เกี่ยวกับการให้บริการ ทางวิชาการสาขาต่าง ๆ เพื่อสร้างความเช้าใจและสนับสนุนงานตามภารกิจของรัฐสภา
(๒) ให้บริการข้อมูล เกี่ยวกับการให้บริการทางวิขาการ เพื่อสนับสบุนภารกิจของบุคคลหรือ หน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์และมาตรการต่าง ๆ


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ร่าง โต้ตอบหนังสือเป็นภาษาต่างประเทศ งานล่าม งานแปลเอกสารภาษาไทย และ ภาษาต่างประเทศ เพื่อใช้ในการติดต่อประสานงานกับองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ หรือองค์กรระหว่างประเทศ
(๒) รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ทำความเห็น และติดตามประเมินผล จัดทำบันทึก สรุปรายงาน การประชุมความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อนำเสนอผู้บังคับบัญชา
(๓) จัดเตรียมงานการประชุมองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศและการไปร่วมประชุม ในต่างประเทศชองสมาชิกรัฐสภา สมาขิกวุฒิสภา สมาขิกสภาผู้แทนราษฎร รวมถึงข้อมูลสำหรับการเจรจา ทางวิชาการ หรือความร่วมมือกับต่างประเทศ เพื่อให้การประชุมเจรจาบรรลุผลตามเป้าหมายทีกำหนด
(๔) ส่งเสริม สนับสนุนดำเนินการเกี่ยวกับทุนการศึกษา ฟิกอบรม ดูงาน หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับงานความร่วมมือ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๕) ติดต่อประสานงานกับองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ สถาบัน ระหว่างประเทศอื่น ๆ บุคคล หรือหน่วยงานอื่นที่รัฐสภาไทยเกี่ยวข้อง รวมทั้งดำเนินงานเกี่ยวกับงานพิธีการทูต และอำนวยความสะดวกเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) เผยแพร่ความรู้ทั่วไปด้านองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ และการต่างประเทศ แก,ผู้มา ติดต่อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและถูกต้อง เผยแพร่ความรู้ ให้คำปรึกษาและชี้แจงตอบปัญหาแก่ผู้ที่มาติดต่อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย
(๒) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงานด้านองค์การรัฐสภาต่างประเทศ และงานด้านต่างประเทศเพื่อ จัดทำเป็นฐานข้อมูล


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน
(๒) ประมวลผลและปรับปรุงแล้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยำและทันสมัย
(๓) ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความ ต้องการและสภาพการใช้งานของหน่วยงานอยู่เสมอ
(๔) เขียนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้แล้ว เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) เขียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แก้ไขข้อผิดพลาดของคำสั่ง เพื่อให้ ระบบปฏิบัติการทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
(๖) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูล ของหน่วยงานที่ไม่ซับซ้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความ ต้องการของหน่วยงาน
(๗) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้ได้ ระบบงานประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงาน
(๘) รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่องการติดตั้ง ระบบเครื่อง เพื่อให้ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการลักษณะการใช้งาน ของหน่วยงาน
(๙) ช่วยตรวจสอบ สืบด้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่าย ไม,เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากลเพื่อความมั่นคง ปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป๋าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเอง อย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) ดำเนินการผึเกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแกเจ้าหน้าที่ ผู้ใช้งาน หรือเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
(๓) ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ ผู้ใฃ้สามารถแก่ไขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการบริหารหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการวางระบบการ จัดทำมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา
(๒) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประกอบการดำเนินงาน เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
(๓) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดความต้องการและความจำเป็น ในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวางแผนทางก้าวหน้าในอาชีพ การจัดหลักสูตรและการถ่ายทอดความรู้ การจัดสรรทุนการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงการวางแผนและเสนอแนะนโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา และแผนการจัดสรรทุนการศึกษาและการัฝืกอบรม
(๔) ศึกษา รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์งาน เพื่อประกอบการกำหนดตำแหน่ง และการวางแผน อัตรากำลังของส่วนราชการ
(๕) ศึกษา รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวางหลักเกณฑ์การบริหารผล การปฏิบัติงาน และการบริหารค่าตอบแทน
(๖) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบข้อมูล ถ้อยคำ ข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการดำเนินการทางวินัย การรักษาวินัยและจรรยา
(๗) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบพิทักษ์คุณธรรม
(๘) ดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาและเลือกสรร เพื่อบรรจุและแต่งตั้งผู้มีความรู้ ความสามารถให้ดำรงตำแหน่ง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาเบื้องต้นแก่หน่วยงาน ข้าราชการรัฐสภา พนักงานหรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐสภา เกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้างความเข้าใจและสนับสนุนงาน ตามภารกิจของหน่วยงาน
(๒) ให้บริการข้อมูล เกี่ยวกับการบริหารหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสนับสนุนภารกิจ ของบุคคลหรือหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์และมาตรการต่าง ๆ
(๓) ดำเนินการจัดสวัสดิการ และการส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อเพิ่มพูน ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน


นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการพัสดุ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวมและศึกษาข้อมูลในงานพัสดุ เพื่อกำหนดคุณภาพและมาตรฐานของพัสดุ
(๒) ตรวจสอบและดูแลการจัดชื้อจัดจ้างแบบต่าง ๆ เช่น การตกลงราคา การสอบราคา ประกวดราคาวิธีพิเศษ และวิธีกรณีพิเศษ เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบของสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
(๓) จัดทำรายละเอียดบัญชี หรือทะเบียนคุมทรัพย์สินเกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุ เพื่อให้สามารถตรวจสอบวัสดุต่าง ๆ ได้โดยสะดวก
(๔) ซ่อมแซมและดูแลรักษาพัสดุในครอบครอง เพื่อให้มีสภาพที่พร้อมใช้งาน
(๔) จำหน่ายพัสดุเมื่อชำรุดหรือเสื่อมสภาพ หรือไม่จำเป็นในการใช้งานทางราชการอีกต่อไป เพื่อให้พัสดุเกิดประโยชน์แก่ทางราชการฝ่ายรัฐสภาได้มากที่สุด
(๖) ให้คำแนะนำในการปฏิบัติงานพัสดุ วางโครงการกำหนดหลักสูตรและฟิกอบรม จัดทำคู่มือ ประจำสำหรับการฟิกอบรมและวิธีใช้อุปกรณ์เครื่องมือที่ถูกต้อง เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการ ปฏิบัติงานตามมาตรฐานและข้อกำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานพัสดุที่ตนมีความรับผิดชอบในระดับเบื้องต้น แก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากำหนด นโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเงินและบัญชี ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานลิ่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน ทั้งเงินในและเงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน เพี่อแสดงสถานะทางการเงินและใช้เป็นฐานข้อมูลที่ถูกต้องตามระเบียบวิธีการบัญชี
(๒) รวบรวมข้อมูล และรายงานการเงินของส่วนราชการ เพื่อพร้อมที่จะปรับปรุงข้อมูลให้ ถูกต้องและทันสมัย
(๓) จัดทำและจัดสรรงบประมาณแก่หน่วยงาน เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณตรงกับความจำเป็น และวัตถุประสงค์ของแต่ละหน่วยงาน
(๔) ศึกษาวิเคราะห์ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงาน เพื่อให้การใช้จ่ายเงินเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ
(๕) ดูแลการรับและจ่ายเงิน สถานะทางการเงิน ตรวจสอบเอกสารสำคัญการรับ-จ่ายเงินเพื่อให้ การรับ จ่ายเงินขององค์กรมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติการถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติของราชการ
(๖) วางโครงการกำหนดหลักสูตรและฟิกอบรม จัดทำคู่มือประจำสำหรับการฟิกอบรมและวิธีใช้ อุปกรณ์เครื่องมือที่ถูกต้อง เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์!,นการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและข้อกำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานชองหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเบีาหมายและผลสัมฤทธึ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมถุทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีที่ตนมีความรับผิดชอบใน ระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีเพื่อสอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการตรวจสอบภายใน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวมและตรวจสยบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล ตัวเลข หลักฐาน การทำสัญญา และเอกสารต่าง ๆ ทางด้านการเงิน การบัญชี เพื่อให้การตรวจสอบดำเนินไปอย่างถูกต้องและได้ผล ตรงกับหลักฐานที่เกิดขึ้นจริง
(๒) ตรวจสอบการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ การเงิน พัสดุและทรัพย์สิน รวมทั้งการบริหารด้านอื่น ๆ ของส่วนราชการ เพื่อดูแลให้การใช้งบประมาณและทรัพยากรเป็นไปอย่างประหยัด มีประสิทธิภาพสูง และตรงตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
(๓) จัดทำรายงานการตรวจสอบรายเดือน เพื่อเสนอข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะ ให้ผู้บังคับบัญชาหรือหน่วยงานต้นสังกัดรับทราบผลการดำเนินงาน่
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ผิกอบรม ให้คำปรึกษา เสนอแนะวิธีการปรับปรุงการปฏิบัติงานแก่หน่วยรับตรวจ และเจ้าหน้าที่ และตอบฺฃ้อชักถามและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ พร้อมทั้งช่วยแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง ในหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้การปฏิบัติงานถูกต้องและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
(๒) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจง เกี่ยวกับงานตรวจสอบภายในที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์หรือด้านสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังน,
๑. ด้านการปฏิบัติการ
ด้านประซาสัมพันธ์
(๑) จัดกิจกรรมตามโครงการประชาสัมพันธ์ โดยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ การดำเนินงานประชาสัมพันธ์บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย
(๒) สำรวจความคิดเห็นของประชาชน และรวบรวมข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ และสรุปผลเพื่อเป็น ข้อมูลในการดำเนินการประชาสัมพันธ์
(๓) ศึกษา ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์เพื่อประกอบการวิจัย วางแผนการประชาสัมพันธ์และติดตามผล
(๔) จัดทำเอกสาร และผลิตบทความเพื่อการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
ด้านสื่อสารมวลขน
(๑) ศึกษา จัดเตรียม และรวบรวมข้อมูลเพื่อผลิตรายการตามที่ได้รับมอบหมาย
(๒) อ่านข่าว ประกาศ บทความ สารคดีทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ เป็นพิธีกรและดำเนินการ ถ่ายทอดเสียงนอกสถานที่ในงานต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและประชาชน
(๓) ทำหน้าที่ผู้สื่อข่าว ผู้ช่วยบรรณาธิการในการผลิต เรียบเรียงและผลิตข่าว เพื่อให้ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล
(๔) รวบรวม จัดทำและจัดเก็บข้อมูลข่าวและรายการ เป็นฐานข้อมูล เพื่อประโยชน์แก่การลีบค้น
(๕) ติดตามผลการรับพิงและคำดิชมต่าง ๆ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนาคุณภาพรายการ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้บริการข้อมูลการประชาสัมพันธ์ ข่าว และรายการ.แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้ เกิดความรู้ความเข้าใจทีถูกต้อง ตรงตามข้อเท็จจริงทีเกิดขึ้น และสนับสนุนงานตามภารกิจของหน่วยงาน หรือเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการโสตทัศนศึกษา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดเตรียมและควบคุมการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง เครื่องฉาย การผลิตวัสดุอุปกรณ์ ทีใช้ในการจัดแสดงหรือบรรยาย เพื่อให้การแสดงหรือบรรยายที่ต้องอาศัยเครื่องเสียงหรือเครื่องฉายดำเนินไป โดยความเรียบร้อย และเกิดความเหมาะสม
(๒) ช่วยเขียน เรียบเรียง คำบรรยายภาพ คำบรรยายแผนภูมิ บทรายการวิทยุ ภาพยนตร์หรือ โทรทัศน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้ หรือข้อมูลอันเป็นประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
(๓) จัดหา ดูแล รักษา ซ่อมแซม เครื่องเสียง เครื่องฉาย ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการ ปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถใช้งานได้ดี ประหยัดงบประมาณของหน่วยงาน และดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป๋าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษา แนะนำในด้านการใช้ บำรุงรักษาเครื่องเสียง เครื่องฉาย ตลอดจนโสตทัศนูปกรณ์ แก่หน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้สามารถดำเนินการด้านโสตทัศนศึกษาได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


นักวิชาการช่างศิลป์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัดิงานระดับด้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการช่างศิลป็ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องทางด้านศิลปกรรม เพื่อเป็นข้อมูลในการออกแบบ เขียนแบบ อนุรักษ์ สร้างสรรค์งานด้านศิลปกรรม และรวบรวมองค์ความรู้ในการจัดทำเอกสารทางวิชาการ
(๒) ออกแบบ เขียนแบบ อนุรักษ์ สร้างสรรค์งานศิลปกรรม เพื่อการสืบทอด สร้างสรรค์ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์
(๓) ซ่อมงานศิลปกรรม เพื่ออนุรักษ์ผลงานศิลปกรรมของไทยให้คงอยู่ต่อไป
(๔) ศึกษา ค้นคว้า และออกแบบตกแต่งทั้งภายนอกและภายในอาคารสถานที่เพื่อการจัดแสดง ทางวิชาการ หรือแสดงผลงานและผลิตกรรม
(๕) ร่วมจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชน และสืบทอด ศิลปวัฒนธรรม
(๖) ร่วมจัดนิทรรศการด้านศิลปกรรม เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธี๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำแนะนำความรู้ด้านศิลปกรรม แก่บุคคล หรือหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง เพื่อเผยแพร่ความรู้


บรรณารักษ์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านบรรณารักษ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดหา คัดเลือก วิเคราะห์ จำแนกหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทำรายการบรรณานุกรม ดัชนี สาระสังเขป และบันทึกลงฐานข้อมูลระบบ ห้องสมุดอัตโนมัติ เพื่อเป็นแหล่งจัดเก็บ และให้บริการ
(๒) ศึกษา คันคว้า วิธีการ และเทคนิคใหม่ ๆ การใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัย ด้านบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ เพื่อเสนอแนะปรับปรุงการปฏิบัติงานห้องสมุด ทั้งด้านวิชาการ และการให้บริการ
(๓) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์การใช้ห้องสมุดและจัดกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร และส่งเสริมให้ผู้ใช้เกิดความสนใจในการเข้าใช้บริการ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลลัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำแนะนำ และตอบคำถามเกี่ยวกับข้อมูล และการใช้ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด เพื่อให้ เกิดความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ


นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิเคราะห์งบประมาณ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและจัดทำรายงานด้านเศรษฐกิจ การเงินการคลัง การงบประมาณ รวมทั้งจัดทำประมาณการภาวะเศรษฐกิจและงบประมาณ
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย รวมทั้งจัดทำประมาณการรายได้ ค่าใช้จ่ายที่เป็นผลกระทบจาก ร่างพระราชบัญญัติด้านการเงินการคลัง เพี่อจัดทำข้อเสนอแนะต่อสมาชิกรัฐสภาในส,วนที่เกี่ยวข้องกับ ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย และร่างพระราชบัญญัติด้านการเงินการคลัง
(๓) ติดตาม ตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐบาลให้เป็นไปอย่างเหมาะสม คุ้มค่า และ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบ และจัดทำรายงานเสนอต่อรัฐสภา
(๔) จัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับการพิจารณาร่างพระราขบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีของ รัฐสภา ทั้งข้อมูลก่อนพิจารณาโครงการ ข้อมูลระหว่างการดำเนินโครงการ และข้อมูลหลังจากการดำเนินโครงการ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รันผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพี่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(ด) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(ด) ให้คำปรึกษา แนะนำ และเผยแพร่ความรู้ ด้านงบประมาณ ระเบียบการ และระบบ การ ติดตามประเมินผลในกระบวนการงบประมาณ เพื่อให้สามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
(๒) ให้บริการข้อมูล ให้คำปรึกษา แนะนำและตอบข้อหารือเกี่ยวกับการงบประมาณต่าง ๆ ให้กับหน่วยงาน และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบงบประมาณ
(๓) จัดทำคู่มือ หรือเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบการ ปฏิบัติงาน

วิชาที่สอบ

เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

สอบแข่งข้นเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานจัดทำรายงาน การประชุม โดยวิธีสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(ด) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธคักราช ๒๕๖๐ และที่แถ้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แกไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.■๒๕๖๒ และที่แกไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. สอบปฏิปัติ
(๑) จดรายงานการประชุม และถอดถ้อยคำเป็นตัวพิมพ์
(๒) การใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
(๓) พิมพ์ดีดภาษาไทย นาทีละไม่น้อยกว่า ๓๕ คำ
(๔) พิมพ์ดีดภาษาอังกฤษ นาทีละไมน้อยกว่า ๒๕ คำ


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

สอบแข่งข้นเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ โดยวิธีสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แกัไขเพิ่มเติม
(๒) พระราชบัญญ้ติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญ้ติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก็ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิปัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญ้ติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกั1ขเพิ่มเติม
(๓) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๓. สอบปฏิปัติ
(๑) การใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
(๒) พิมพ์ดีดภาษาไทย ไม่น้อยกว่านาทีละ ๒๕ คำ
(๓) พิมพ์ดีดภาษาอังกฤษ ไม่น้อยกว่านาทีละ ๒๕ คำ


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

สอบแช่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานพัสดุ โดยวิธีสอบข้อเขียน ดังต่อไปนี้
ต. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(ต) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(ต) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐพ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม ■และกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

สอบแช่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเช้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานการเงิน
และบัญชี โดยวิธีสอบข้อเขียน ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความลามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบรัฐสภาว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๓) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบรัฐสภาว่าด้วยการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบรัฐสภาว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ สังกัดรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

สอบแข่งชันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยวิธีสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
ด. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(ด) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญฟ้ติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
• (๓) พระราชบัญญ้ติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบีติงาน
(ด) ความรู้เกี่ยวกับงานด้านการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบที่เกี่ยวข้อง
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
๓. สอบปฏิบีติ
ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ ซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ บำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ประกอบต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ รวมทั้งติดตั้งซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการให้ระบบเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้งานได้ (ผู้เช้าสอบต้องเตรียมอุปกรณ์ซ่อมคอมพิวเตอร์มาเอง)


นายช่างศิลป์ปฏิบัติงาน

สอบแช่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างศิลป้
โดยวิธีสอบข้อเขียนและลอบปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก็ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญ้ติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญ้ติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก็ไชเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏินัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับงานด้านช่างศิลป้ การออกแบบ การจัดงานศิลป้ บอร์ด สื่อสิ่งพิมพ์ ป้ายโฆษณา และงานอื่น ๆ ทางด้านช่างศิลป้
(๒) ความรู้เกี่ยวกับหลักการออกแบบและองค์ประกอบศิลป้ การออกแบบ การตกแต่ง และจัดนิทรรศการ
๓. สอบปฏิบัติ
(๑) ออกแบบงานศิลป้ บอร์ด ป้ายประกาศ ป้ายโฆษณา ฉาก เวทีของหน่วยงาน ผังสถานที่ สื่อสิ่งพิมพ์
(๒) สามารถจัดออกแบบรูปเล่มหนังสือ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์


นายช่างปฏิบัติงาน

สอบแช่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเช้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่าง (ปฏิบัติงาน ทางช่างไฟฟ้า) โดยวิธีสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลังไฟฟ้าแสงสว่าง หม้อแปลงและมอเตอร์ ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบอิเล็กทรอนิกส์ และระบบคอมพิวเตอร์
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
(๓) ความรู้พื้นฐ่านเกี่ยวกับการเขียนแบบและประมาณราคาระบบไฟฟ้า
(๔) ความรู้เกี่ยวกับวิธีซ่อมบำรุงรักษาและการปัองกันระบบไฟฟ้า
๓. สอบปฏิบัติ
(ด) การติดตั้งไมโครโฟนชุดประชุมและเครื่องบันทึกเสียง การต่อสัญญาณภาพและเสียงออก เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ การติดตั้งระบบควบคุมทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
(๒) การซ่อมบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบ แสงสว่าง หม้อแปลงและมอเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ


นายช่างปฏิบัติงาน

สอบแช่งชันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่าง (ปฏิบัติงาน
ทางช่างโยธา) โดยวิธีสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(ด) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(ด) ความรู้เกี่ยวกับการเขียนแบบ ประมาณราคาค่าก่อสร้าง การบริหารงานก่อสร้าง การสำรวจ
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องในงานก่อสร้าง
(๓) ความรู้เกี่ยวกับการตรวจและการควบคุมการก่อสร้างอาคาร ถนน งานสาธารณูปโภค และการทดสอบวัสดุด้านวิศวกรรมโยธา
๓. สอบปฏิป้ติ
(๑) การเขียนแบบก่อสร้าง บำรุงรักษางานโครงสร้าง ตรวจสอบและติดตั้งวงจรสตาร์ทสตาร์-รันเดลต้า/ กลับทางหมุน (start Star-Run Delta/Reversing)
(๒) การจำแนกแยกแยะ รวมถึงการซ่อมบำรุงรักษาระบบงานท่อทุกชนิด และอุปกรณ์ต่าง ๆ


นิติกรปฏิบัติการ

สอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนิติกร โดยวิธีลอบข้อเขียน ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความลามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธคักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประขุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราขการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและกฎหมายทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ
(๒) ความรู้ความสามารถในการวิเคราะหํ เสนอความเห็น เสนอแนวทางการพัฒนา หรือแก้ไขปัญหา ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวงงานรัฐสภา
(๓) ความรู้เกี่ยวกับระบบบริหารราขการแผ่นดิน และระบบงานด้านนิติบัญญัติ
(๔) ความรู้เกี่ยวกับข้อกฎหมาย การเสนอความเห็นในการดำเนินการเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับวินัย ข้าราขการ การร้องทุกข์ การพิทักษ์ระบบคุณธรรม รวมถึงการดำเนินการใด ๆ ตามกฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารราขการ และการดำเนินคดีของหน่วยงาน


วิทยากรปฏิบัติการ

สอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานไนตำแหน่งวิทยากร โดยวิธีสอบข้อเขียน ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการพิจารณา การร่าง ปรับปรุง แก้ไข พระราชบัญญัติ กฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับญัตติกระทู้ถามและงานบริการทางวิชาการด้านอื่นๆ
(๓) ความรู้เกี่ยวกับระบบงานด้านนิติบัญญัติ
(๔) ความรู้เกี่ยวกับด้านกฎหมาย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวงงานของรัฐสภา


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

สอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิเทศสัมพันธ์ โดยวิธีสอบข้อเขียน ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
(๒) ความรู้เกี่ยวกับภาษาต่างประเทศ
–    งานล่าม งานแปล สรุปหรือเรียบเรียงเอกสาร และเผยแพร่เอกสารทางราชการ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
–    การร่าง โต้ตอบหนังสือเป็นภาษาอังกฤษ
–    การดีความ สรุปความ แปลความภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ และแปลภาษาอังกฤษ
เป็นภาษาไทย


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

สอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเช้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์
โดยวิธีสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับแผน/นโยบาย/เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและข้อเสนอเกี่ยวกับ องค์กรกับเทคโนโลยีดิจิทัล
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศ วิเคราะห์และออกแบบ ระบบการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
(๓) ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ
๓. สอบปฏิบัติ
(๑) ออกแบบ และเขียนชุดคำสั่ง ตามโปรแกรมที่กำหนด
(๒) บันทึกและแสดงผลตามชุดคำสั่งทางเครื่องพิมพ์


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

สอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคล โดยวิธีสอบข้อเขียน ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารผล การปฏิบัติงาน หรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการสรรหา และเลือกสรรบุคคลเพื่อบรรจุเข้ารับราชการ
(๓) ความรู้เกี่ยวกับแผนงาน โครงการที่เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(๔) ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์งาน การกำหนดตำแหน่งและการวางแผนอัตรากำลัง


นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ

สอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิขาการพัสดุ ใดยวิธีลอบข้อเขียน ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความลามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราขบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แกไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวช้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมช้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไชเพิ่มเดิม และกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
(๓) ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านพัสดุและครุภัณฑ์
(๔) ความรู้เกี่ยวกับจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

สอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชี โดยวิธีสอบข้อเชียน ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แกัไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒, ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
(๒) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
(๓) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบรัฐสภาว่าด้วยกา.รเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบรัฐสภาว่าด้วยการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แกัไขเพิ่มเดิม
(๕) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบรัฐสภาว่าด้วยการเบิกจ่ายคำใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราขการ สังกัดรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม


นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

๑. ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาการบัญชี หรือพาณิชยศาสตร์ หรือบริหารธุรกิจ หรือเศรษฐศาสตร์ และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป
๓. หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันเพี่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) สอบแช่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความ.เข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน โดยวิธีสอบข้อเขียน ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญ้ติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญ้ติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๖๕๖๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราขการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. ๖๕๕๑
(๖) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐาน การควบคุมภายใน พ.ศ. ๖๕๔๔
(๓) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ ของผู้ตรวจสอบภายใน พ.ศ. ๖๕๔๖
(๔) ความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติการตรวจสอบภายใน กรมบัญชีกลาง พ.ศ. ๒๕๔๖
(๕) ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ของส่วนราชการ
(๖) ความรู้เกี่ยวกับการเงินการคลังภาครัฐ ด้านงบประมาณ ด้านการเงิน ด้านบัญชี ด้านพัสดุ


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ

สอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักประชาสัมพันธ์ โดยวิธีลอบข้อเขียนและลอบปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความลามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอ่าณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับด้านสื่อสารมวลชน ด้านประชาสัมพันธ์และการลื่อสาร และการทำข่าว หรือการนำเสนอข่าว
(๒) ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการและขั้นตอนการบริหารงานด้านประชาสัมพันธ์ และด้านสื่อสารมวลชน
(๓) ความรู้เกี่ยวกับจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ และด้านสื่อสารมวลชน
๓. สอบปฏิบัติ
– การทดสอบเสียง การอ่านฟ้งเสียง เข่น อักขรวิธี ความถูกต้อง ความชัดเจน การนำเสนอ เป็นต้น


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

สอบแช่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิชาการโสตทัศนศึกษา โดยวิธสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญฟ้ติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญณู้ติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้ด้านโสตทัศนศึกษา
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโปสเตอร์และสื่อสิ่งพิมพ์
(๓) ความรู้เกี่ยวกับหลักการถ่ายภาพเบื้องต้น
๓. สอบปฏิบัติ
(๑) การใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง เครื่องฉายภาพ เครื่องนำเสนอสื่อดิจิทัลรูปแบบสมัยใหม่ การผลิตวัสดุอุปกรณ์หรือผลิตข้อมูลรูปแบบไฟล์ดิจิท้ล สำหรับใช้จัดแสดงหรือบรรยายเพื่อให้การนำเสนอข้อมูล ดำเนินไปโดยความเรียบร้อยและเกิดความเหมาะสม
(๒) การประยุกต์ใช้อุปกรณ์ร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อปฏิบัติงานด้านการจัดแสดง พิพิธภัณฑ์ และงานด้านจดหมายเหตุ อย่างน้อยดังนี้
–    โปรแกรม Adobe Photoshop
–    โปรแกรม Adobe Premiere หรือโปรแกรมตัดต่อวีดิทัศน์อื่น ๆ
–    โปรแกรม Adobe Acrobat Professional


นักวิชาการช่างศิลป์ปฏิบัติการ

สอบแช่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิชาการช่างศิลป้ โดยวิธีสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๒) พระราชบัญญ้ติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา, พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราขการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(ด) ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีด้านศิลปกรรม การออกแบบ การเขียนแบบ การสร้างสรรค์งานด้าน ศิลปกรรม
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบร่างเบื้องต้น
(๓) ความรู้เกี่ยวกับหลักการออกแบบองค์ประกอบศิลป้ การออกแบบตกแต่งและจัดนิทรรศการ การจัดงานศิลป้ บอร์ด สื่อสิ่งพิมพ์ ป้ายโฆษณา และงานอื่น ทางด้านศิลป้
๓. สอบปฏิบัติ
(ด) การใช้โปรแกรมกราฟิก Photoshop หรือ Illustrator เพื่อออกแบบลื่อสิ่งพิมพ์
(๒) การทำ Infographic สำหรับการนำเสนอ


บรรณารักษ์ปฏิบัติการ

สอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งบรรณารักษ์โดยวิธีสอบข้อเขียน
ดังต่อไปนี้ 
๑. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธคักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๗) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับงานบรรณารักษ์ หรืองานห้องสมุด ด้านสารนิเทศศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่และการจัดทำบัตรรายการ
(๓) ความรู้เกี่ยวกับการจัดการห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ
(๔) ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บและการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ
(๕) ความรู้เกี่ยวกับการบริการอ้างอิงและสารสนเทศ
(๖) ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคใหม่ ๆ ด้านห้องสมุด และด้านความรู้ทั่วไปที่เกี่ยวกับห้องสมุดรัฐสภา


นักวิเคราะห์งบประมาณปฏิบัติการ

สอบแข่งชันเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิเคราะห์งบประมาณ โดยวิธีสอบข้อเขียน ดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความลามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๖๓
(๕) ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๖) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๓)) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. ๒๔๙๑ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม พระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. |อ๕๖๐
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการงบประมาณ (กระบวนการ วิธีการงบประมาณแผ่นดิน การวิเคราะห์ การใช้จ่ายของรัฐบาล การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี)
(๓) ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจ (การวิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจ การเงิน การคลัง และการงบประมาณแผ่นดิน)
(๔) ความรู้เกี่ยวกับงานนโยบาย แผนงาน และโครงการ (การวางแผน การจัดทำ การบริหาร และการติดตามประเมินผล)
(๕) ความรู้และทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์ความคุ้มค่า ความเหมาะสม หรือการประเมินผล กระทบของโครงการ

วิธีการสมัครงานข้าราชการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 17 พ.ค. – 14 มิ.ย. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

แผนที่ | file 1 | เว็บรับสมัคร