“กระทรวงมหาดไทย “
ลิงค์: https://ehenx.com/15703/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ,นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-16,500
อัตราว่าง: 140
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 23 พ.ย. – 6 ธ.ค. 2564
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กระทรวงมหาดไทย เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราขการในตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ปฏิบัติการ ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ ตำแหน่งนักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ และตำแหน่งนายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
ด้วยสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยจะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคล เข้ารับราชการในตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ ตำแหน่งนักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ และตำแหน่งนายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และ หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแช่งขัน เพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแช่งขันฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 10 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
- สำนักงานอัยการสูงสุด เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-13 ม.ค. 2568 รวม 27 อัตรา,
- สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิคเขาวง เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ 28 ก.พ. -5 มี.ค. 2568
- กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ บัดนี้-9 ธ.ค. 2567 รวม 6 อัตรา,
- กรมควบคุมมลพิษ เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-13 ธ.ค. 2567 รวม 7 อัตรา,
- สำนักงานประกันสังคม เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-12 ธ.ค. 2567 รวม 10 อัตรา,
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 40 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 30 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 60 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
๑. เป็นผู้มีคุณวุฒิการศึกษาปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทางคอมพิวเตอร์ จากสถาบันการศึกษาที่ ก.พ. รับรอง และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป
นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ
๑. เป็นผู้มีคุณวุฒิการศึกษาปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี หรือสาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ จากสถาบันการศึกษาที่ ก.พ. รับรอง และ
๒. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง ตำแหน่งนักวิชาการเงิน และบัญชีปฏิบัติการ โดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ
เป็นผู้มีคุณวุฒิการศึกษาปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา จากสถาบันการศึกษาที่ ก.พ. รับรอง
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
๑. เป็นผู้มีคุณวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือ สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ จากสถาบันการศึกษาที่ ก.พ. รับรอง และ
๒. ต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือระดับทีสูงกว่า
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน
(๒) ประมวลผลและปรับปรุงแก้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ลูกต้องแม่นยำ และทันสมัย
(๓) ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการ และสภาพการใช้งานของหน่วยงาน
(๔) เขียนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) เขียนชุดคำสั่ง ทดสอบความลูกต้องของคำสั่ง แก้ไขข้อผิดพลาดของคำสั่ง เพื่อให้ระบบปฏิบัติการทำงานได้อย่างลูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
(๖) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูล ของหน่วยงานที่ไม่ซับช้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานใท้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของหน่วยงาน
(๗) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้ได้ ระบบงานประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงาน
(๘) รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่อง การติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อให้ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ ของหน่วยงาน
(๙) ช่วยตรวจสอบ สืบด้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เช้าข่าย ไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากลเพื่อความมั่นคง ปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ
(๑๐) ช่วยตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการออกใบอนุญาตเพื่อให้ การออกใบอนุญาตเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานงานทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือ และผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อใท้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) ดำเนินการฝืกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนา แก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
(๓) ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก่ไขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเงินและบัญชีภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน ทั้งเงินในและเงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน เพื่อแสดงสถานะทางการเงินและใช้เป็นฐานข้อมูลที่ถูกต้องตามระเบียบวิธีการบัญชี ของส่วนราชการ
(๒) รวบรวมข้อมูล และรายงานการเงินของส่วนราชการเพื่อพร้อมที่จะปรับปรุงข้อมูล ให้ถูกต้องและทันสมัย
(๓) จัดทำและจัดสรรงบประมาณแก่หน่วยงานของรัฐเพื่อให้การจัดสรรงบประมาณ ตรงกับความจำเป็นและวัตถุประสงค์ของแต่ละหน่วยงาน
(๔) ศึกษาวิเคราะห์ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้การใช้จ่ายเงิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ
(๕) ดูแลการรับและจ่ายเงิน สถานะทางการเงิน ตรวจสอบเอกสารสำคัญการรับ – จ่าย เพื่อให้การรับ – จ่ายเงินขององค์กรมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติการถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติของราชการ
(๖) ส่ายทอดความรู้ด้านการเงินและบัญชี แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เช่น ให้คำแนะนำ ในการปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตรและฟิกอบรม จัดทำคู่มือประจำสำหรับการฟิกอบรมและวิธีใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่ถูกต้อง เป็นต้น เพื่อส่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและข้อกำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือ โครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธี๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการเอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อใท้ผู้ทีสนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุงหรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี เพื่อให้สอดคล้องและสนับสมุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ ท
นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการพัสดุ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวมและศึกษาข้อมูลในงานพัสดุ เพื่อกำหนดคุณภาพ และมาตรฐานของพัสดุ
(๒) ตรวจสอบและดูแลการจัดชื้อจัดจ้างแบบต่าง ๆ เช่น วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีการคัดเลือก วิธีเฉพาะเจาะจง เป็นต้น เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ
(๓) จัดทำรายละเอียดบัญชี หรือทะเบียนคุมทรัพย์สินเกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุ เพื่อให้สามารถตรวจสอบวัสดุต่าง ๆ ได้โดยสะดวก
(๔) ซ่อมแซมและดูแลรักษาพัสดุในครอบครอง เพื่อให้มีสภาพที่พร้อมใช้งาน
(๕) จำหน่ายพัสดุเมื่อชำรุดหรือเสื่อมสภาพ หรือไม่จำเป็นในการใช้งานทางราชการอีก ต่อไป เพื่อให้พัสดุเกิดประโยชน์ให้แก่ทางราชการได้มากที่สุด
(๖) ถ่ายทอดความรู้ด้านงานพัสดุแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เช่น ให้คำแนะนำในการ ปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตรและฟิกอบรม จัดทำคู่มือประจำสำหรับการฟิกอบรมและวิธีใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่ถูกต้อง เป็นต้น เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ไนการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและข้อกำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดที่เกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานพัสดุที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับ เบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานและใช้ประกอบพิจารณากำหนด นโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุมการใช้งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสารในภารกิจที่เกี่ยวช้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพตอบสนองความต้องการของหน่วยงานภายในและภายนอก
(๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผน บำรุงรักษา
(๓) ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการออกใบรับรองตามที่ หน่วยงานหรือกฎหมายกำหนด
๒. ต้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการ ทั้งภายในและ ภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
วิชาที่สอบ
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
โดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ (๕๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ ได้แก่
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐
(๒) กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(๓) กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
(๔) กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
(๕) กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานทางจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
(๖) กฎหมายและระเบียบว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
(๗) กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
(๘) กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
(๙) กฎหมายว่าด้วยการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล
(๑๐) ระเบียบเกี่ยวกับงานสารบรรณ
(๑๑) กฎหมายว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไชเบอร์
(๑๒) กฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(๑๓) กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
๒. วิชาความรู้ความเข้าใจในบทบาทภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงมหาดไทย (๒๐ คะแนน)
๓. วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้น (๒๐ คะแนน)
๔. วิชาความรู้เกี่ยวกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (๑๐ คะแนน)
๕. ความรู้และทักษะพื้นฐานในวิชาชีพที่ใช้สำหรับการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งนักวิชาการ คอมพิวเตอร์ (๑๐๐ คะแนน)
๕.๑ โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี (Data Structures and Algorithms)
๕๒ ระบบฐานข้อมูล (Database Systems)
๕.๓ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming)
๕๔ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design)
๕๕ ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
๕๖ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communications and Networks)
๕๗ ความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (Information System Security)
๕๘ การจัดการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Project Management)
๕๙ ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)
๕๑๐ ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต
(๑) ความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ระบบฮาร์ดแวร์ (Hardware) ระบบซอฟต์แวร์ (Software) และความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (Information System Security)
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และ ระบบเครือข่ายอินทราเน็ต
(๓) ความรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาทางคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการพัฒนา ระบบงานประยุกต์ เช่น PHP, JavaScript, MySQL, MSSQL เป็นต้น
(๔) ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศ วิเคราะห์ และออกแบบระบบการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
(๕) ความรู้เกี่ยวกับฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
(๖) ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System!
นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ
โดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ (๕๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ ได้แก่
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐
(๒) กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(๓) กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
(๔) กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
(๕) กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานทางจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
(๖) กฎหมายและระเบียบว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
(๗) กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
(๘) กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
(๙) กฎหมายว่าด้วยการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล
(๑๐) ระเบียบเกี่ยวกับงานสารบรรณ
(๑๑) กฎหมายเกี่ยวกับการงบประมาณ การเงิน การคลัง และพัสดุ
๒. วิชาความรู้ความเข้าใจในบทบาทภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงมหาดไทย (๒๐ คะแนน)
๓. วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้น (๒๐ คะแนน)
๔. วิชาความรู้เกี่ยวกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (๑๐ คะแนน)
๕. ความรู้และทักษะพื้นฐานในวิชาชีพที่ใช้สำหรับการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งนักวิชาการเงิน และบัญชี (๑๐๐ คะแนน)
๕.๑ ความรู้เกี่ยวกับการเงิน บัญชี และงบประมาณ
๕.๒ ความรู้เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ
๕๓ ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำ สอบทานข้อมูลทางการเงิน รายงานการเงินและวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน
๕.๔ ความรู้เกี่ยวกับหลักการและนโยบายการบัญชี
๕.๕ ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานทางบัญชี
๕๖ ความรู้เกี่ยวกับการเบิกจ่ายงบประมาณผ่านระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์
๕๗ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน
นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ
๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ (๕๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ ได้แก่
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐
(๒) กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(๓) กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
(๔) กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
(๕) กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานทางจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
(๖) กฎหมายและระเบียบว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
(๗) กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
(๘) กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
(๙) กฎหมายว่าด้วยการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล
(๑๐) ระเบียบเกี่ยวกับงานสารบรรณ
(๑๑) กฎหมายเกี่ยวกับการงบประมาณ การเงิน การคลัง และพัสดุ
๒. วิชาความรู้ความเข้าใจในบทบาทภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และ กระทรวงมหาดไทย (๒๐ คะแนน)
๓. วิชาภาษาอังกฤษเบื้องต้น (๒๐ คะแนน)
๔. วิชาความรู้เกี่ยวกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (๑๐ คะแนน)
๕. ความรู้และทักษะพื้นฐานในวิชาชีพที่ใช้สำหรับการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งนักวิชาการพัสดุ (๑๐๐ คะแนน)
๕.๑ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพัสดุ
๕.๒ ความรู้เกี่ยวกับจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ
๕.๓ ความรู้เกี่ยวกับการบริหารพัสดุ ได้แก่ การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม การตรวจสอบ การบำรุงรักษา และการจำหน่ายพัสดุ
๕.๔ ความรู้เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างผ่านระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกซ์
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
โดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ (๔๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ ได้แก่
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐
(๒) กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
(๓) กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
(๔) กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
(๕) กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานทางจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
(๖) กฎหมายและระเบียบว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
(๗) กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
(๘) กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
(๙) กฎหมายว่าด้วยการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล
(๑๐) ระเบียบเกี่ยวกับงานสารบรรณ
๒. วิชาความรู้ความเข้าใจในบทบาทภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และ
กระทรวงมหาดไทย (๒๐ คะแนน)
๓. วิขาภาษาอังกฤษเบื้องต้น (๑๐ คะแนน)
๔. วิชาความรู้เกี่ยวกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (๑๐ คะแนน)
๕. ความรู้และทักษะพื้นฐานในวิชาชีพที่ใช้สำหรับการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งนายช่างไฟฟ้า
(๑๒๐ คะแนน)
๕.๑ ความรู้ด้านโทรศัพท์ โทรสาร การสื่อสารข้อมูล การรับส่งวิทยุสื่อสาร ระบบสื่อสาร
ไมโครเวฟ ระบบสื่อสารดาวเทียม สายอากาศและการสื่อสารทางสายรวมทั้งใยแก้วนำแสง
๕.๒ ความรู้ด้านเทคโนโลยีระบบมัลดิมีเดีย ระบบเสียง ระบบภาพ ดิจิทัลวิดีโอ วิทยุ โทรทัศน์ CCTV และ Video Conferencing
๕.๓ ความรู้ด้านระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อินเทอร์เน็ต และอินทราเน็ต
๕.๔ ความรู้เกี่ยวกับระบบควบคุมทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
๕.๕ ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์คำนวณวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
๕.๖ ความรู้เกี่ยวกับวิธีบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง
๕.๗ ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือตรวจวัดทางไฟฟ้า การตรวจทดสอบและการวัด
วิธีการสมัครงานข้าราชการ กระทรวงมหาดไทย :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 23 พ.ย. – 6 ธ.ค. 2564 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ดาวน์โหลดไฟล์ “กระทรวงมหาดไทย
แผนที่ ประกาศ 1 | เว็บรับสมัคร |