กรมการแพทย์ เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 12 ต.ค. -20 ต.ค. 2564 รวม 97 อัตรา,

แชร์เลย

กรมการแพทย์เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ

กรมการแพทย์

ลิงค์: https://ehenx.com/15502/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าพนักงานเภสัชกรรม,พยาบาลวิชาชีพ,เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์,เจ้าพนักงานเวชสถิติ,เจ้าพนักงานเภสัชกรรม,นักกายอุปกรณ์,นักจิตวิทยาคลินิก,นักเทคนิคการแพทย์,นักรังสีการแพทย์,นักรังสีการแพทย์,เภสัชกร,นายแพทย์
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรี,อื่นๆ
อัตราเงินเดือน: 10,840-23,100
อัตราว่าง: 97
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร,นครปฐม,ลำปาง,อุบลราชธานี
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 12 ต.ค. – 20 ต.ค. 2564
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมการแพทย์ เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมการแพทย์

เรื่อง รับสมัครคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งต่าง ๆ สังกัดกรมการแพทย์

ด้วยกรมการแพทย์ จะดำเนินการคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง ต่าง ๆ ของกรมการแพทย์ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ หนังลือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔.๑/ว ๑๖ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ และหนังสือ สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๒๐ ลงวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๔ จึงประกาศรับสมัครคัดเลือกเพื่อบรรจุและ แต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

เจ้าพนักงานเภสัชกรรม

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 10840-11930 บาท

คุณวุฒิ : อื่นๆ


พยาบาลวิชาชีพ

อัตราว่าง : 73 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-23100 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 10840-11930 บาท

คุณวุฒิ : อื่นๆ


เจ้าพนักงานเวชสถิติ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 10840-11930 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานเภสัชกรรม

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 10840-11930 บาท

คุณวุฒิ : อื่นๆ


นักกายอุปกรณ์

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักจิตวิทยาคลินิก

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักเทคนิคการแพทย์

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักรังสีการแพทย์

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักรังสีการแพทย์

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เภสัชกร

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15800-17380 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นายแพทย์

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 21000-23100 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าพนักงานเภสัชกรรม


พยาบาลวิชาชีพ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิขาพยาบาล ศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลขั้นหนึ่ง หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ขั้นหนึ่ง


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์

ได้รับประกาศนัยบัตรวิชาพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อย กว่า ๑ ปี ต่อจากมัธยมศึกษาตอนปลายที,ศึกษาวิชาสามัญ หรือประกาศนัยบัตรพนักงานห้องปฏิบัติการ ชันสูตรโรค ชึ่งมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๓ ปี ต่อจากมัธยมศึกษาตอนต้น


เจ้าพนักงานเวชสถิติ

ได้รับประกาศนืยบัตรซึ่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า ๒ ปี ต่อจากประโยคมัธยมศึกษา ตอนปลายที่ศึกษาวิชาสามัญทางการพยาบาล เวชสถิติ หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงเวชระเบียน


เจ้าพนักงานเภสัชกรรม

ได้รับประกาศนิยบัตรเจ้าพนักงานเภสัชกรรม ซึ่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า ๒ ปี ต่อจากประกาศนึยบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายที,ศึกษาวิชาสามัญ หรือประกาศบียบัตรวิชาชีพชั้นสูงเทคนิค เภสัชกรรม


นักกายอุปกรณ์

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชากายอุปกรณ์ศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศึลปะสาขากายอุปกรณ์ หรือได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ จากคณะกรรมการวิชาชีพสาขากายอุปกรณ์


นักจิตวิทยาคลินิก

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาหนึ่ง ทางจิตวิทยาคลินิก และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศึลปะสาขาจิตวิทยาคลินิก


นักเทคนิคการแพทย์

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศึลปะสาขาเทคนิคการแพทย์ หรือได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบ วิขาชีพเทคนิคการแพทย์ของสภาเทคนิคการแพทย์


นักรังสีการแพทย์

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ทางรังสีเทคนิค และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศึลปะสาขารังสีเทคนิค


นักรังสีการแพทย์

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ทางรังสีเทคนิค และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิค


เภสัชกร

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศึลปะสาขาเภสัชกรรมชั้นหนึ่ง หรือได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบ วิชาชีพเภสัชกรรมจากสภาเภสัชกรรม


นายแพทย์

ได้รับปริญญาในสาขาวิชาแพทยศาสตร์ หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ตํ่ากว่านี้ และได้รับ ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม จากแพทยสภา และได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาออร์โธปีดิกส์

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เจ้าพนักงานเภสัชกรรม


พยาบาลวิชาชีพ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชากาวในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านการพยาบาลวิชาชีพ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติการพยาบาลขั้นพื้นฐานตามมาตรฐานวิชาชีพ ในการให้การพยาบาลแก่
ผู้ใช้บริการเพื่อให้ได้รับการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัย
(๒) คัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ปัญหา วินิจฉัยปัญหา ภาวะเลี่ยง เพื่อให้
การช่วยเหลือทางนิติวิทยาศาสตร์ การพยาบาลได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทันสถานการณ์และทันเวลา
(๓) บันทึก รวบรวม ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้านการพยาบาลเบื้องต้น เพื่อพัฒนาการดูแล ผู้ป่วย ให้เกิดความปลอดภัย สุขสบาย และมีประสิทธิภาพ
(๔) ส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา พื้นฟูสุขภาพประชาชน หรือการบริการอื่นๆ ทางด้าน สุขภาพ เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธื้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) สอน แนะนำ ให้คำปรึกษาเบื้องต้นแก่ผู้ใช้บริการและครอบครัว ชุมชน เกี่ยวกับการ ส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา พื้นฟูสภาพ เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้
(๒) ให้บริการข้อมูลทางวิชาการ จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการพยาบาล เพื่อให้ ประชาชนได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
๔. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานทางห้องปฏิบัติการ ตรวจวิเคราะห์ทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อนำไป ประกอบการวินิจฉัยและรักษา การแก้ปัญหาสาธารณสุขและภัยสุขภาพ การคุ้มครองผู้บริโภคสิ่งแวดล้อม
(๒) สนับสนุนงานตรวจวิเคราะห์ วิจัยทางห้องปฏิบัติการ เพื่อำนวยความสะดวกในการ ปฏิบัติงาน และใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และสาธารณสุข
(๓) ดุแลบำรุงรักษา เครื่องมืออุปกรณ์ เพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและเป็นไปตามมาตรฐาน (๔) รวบรวมข้อมูล จัดทำรายงาน เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลอัางอิง นำเสนอผู้บังคับบัญชาใน หน่วยงาน
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ข้อมูลและให้บริการทางวิชาการในเรืองที,ไม1ซับช้อน เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจของผู้ใช้บริการ
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น และมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานเวชสถิติ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านเวชสถิติ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ให้บริการในงานเวชระเบียน อย่างมีมาตรฐานเพื่อการรักษา ดูสุขภาพผู้ป่วย
(๒) ให้บริการจำแนกประเภทผู้ป่วย เพื่อการส่งผู้ป่วยไปรับการรักษากลุ่มเฉพาะโรคได้ อย่างถูกต้อง
(๓) ให้รหัสทางการแพทย์ตามมาตรฐานได้อย่างถูกต้องเพื่อใช้ประกอบการปฏิบัติงานของ บุคลากรทางการแพทย์
(๔) เก็บรวบรวมข้อมูลทางการแพทย์ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอเจ้าหน้าที่ระดับสูงขึ้นไป
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการข้อมูลเวชระเบียนและสถิติประเภทต่างๆ แก่หน่วยงานที’เกี่ยวข้อง บุคลากรทาง การแพทย์ ประชาชน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์การปฏิบัติงาน ศึกษาอ้างอิง วางแผนงานต่างๆ
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น และมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานเภสัชกรรม

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านเภสัชกรรม ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที,ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ให้บริการในงานเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภคชั้น/นฐาน แก่ผู้ใช้บริการภายใต้การควบคุมกำกับของเภสัชกร เพื่อการบริการอย่างมีคุณภาพ มาตรฐาน
(๒) ดูแล บำรุงรักษา เครื่องมืออุปกรณ์ เพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและเป็นไปตาม มาตรฐาน
(๓) บันทึก จัดเก็บ รวบรวมข้อมูลทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุช การคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง นำเสนอผู้บังคับบัญชาในหน่วยงาน
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ข้อมูลและให้บริการทางวิชาการในเรื่องที,ไม่ซับซัอน เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจของผู้ใช้บริการ
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น และมีประสิทธิภาพ


นักกายอุปกรณ์

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใซ้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านกายอุปกรณ์ ภายใต้การกำกับแนะนำ ตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานตามขั้นตอน มาตรฐาน กฎเกณฑ์ด้านกายอุปกรณ์เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถ ช่วยเหลือตนเอง และมีความเป็นอยู่ในสังคมด้วยตนเองได้อย่างปกติสุข
(๒) รวบรวมข้อมูลทางวิชาการด้านกายอุปกรณ์ที,ไม่ซับซ้อน เพื่อประกอบการวางแผนหรือ จัดทำรายงานทางวิชาการ
(๓) ติดตามประเมินผล สรุปการศึกษา วิเคราะห์และวิจัยทางด้านกายอุปกรณ์ เพื่อให้บรรลุว วัตคุประสงค์ของแผนงาน โครงการที่อยู่ในความรับผิดชอบ
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ สำรวจขอัมูลและประเมินผลด้านกายอุปกรณ์ที่ไม่ซับซ้อน เพื่อใช้เป็น ข้อมูลในการวางแผนพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที,รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท้จจริง แก’บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเช้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการด้านกายอุปกรณ์ที,ไม่ยุ่งยาก ซับซอ’น และแนะนำความรู้ด้านกายอุปกรณ์แก’ผู้ พิการ ผู้ป่วยประชาชนบุคลากรที่เกี่ยวช้องเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติงานด้านกายอุปกรณ์
(๒) จัดเก็บข้อมูลด้านกายอุปกรณ์และให้บริการข้อมูลเบื้องต้นแก’บุคลากร หน่วยงานที, เกี่ยวข้อง เพื่อให้เป็นแหล่งอ้างอิงที่ผู้ใข้บริการสามารถเข้าถึงได้ง่าย ต้นคว้า และนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง รวดเร็วมีประสิทธิภาพ
(๓) ส่งเสริม หรือประชาสัมพันธ์งานด้านกายอุปกรณ์ให้ทั่วถึง เพื่อให้ผู้พิการเข้าถึงบริการ อย่างมีคคุณภาพ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นักจิตวิทยาคลินิก

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านจิตวิทยาคลินิก ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
๑. ด้านการปฏิบัติการ
๑. ประเมิน วิเคราะห์ ตรวจวินิจฉัย ด้วยเครื่องมือทดสอบทางจิตวิทยาคลินิกตามมาตรฐาน วิชาชีพจิตวิทยาคลินิก กับกลุ่มเบ้าหมาย เพื่อด้นหา อธิบาย ทำนายแนวโน้มความผิดปกติทางจิต พยาธิ สภาพทางสมอง พฤติกรรมอารมณ์ ความคิด พัฒนาการ ศักยภาพ บุคลิกภาพ เชาวน์ปัญญา กลไกที่มาหรือ สาเหตุของปัญหาสุขภาพจิตและสารเสพติด ความผิดปกติทางจิตใจ การกระทำผิด กฎหมายหรือกรณีที่ เกี่ยวช้องกับทางกฎหมาย การเจ็บป่วยทางจิตเวชในระดับที่ไม่ซับซ้อน
๒. ให้การปรึกษา จิตบำบัด พฤติกรรมบำบัด การบำบัดทางจิตวิทยา การพื่นฟูสมรรถภาพทาง จิตใจ สังคม อารมณ์ สติปัญญา ตามมาตรฐานวิชาชีพจิตวิทยาคลินิก ในระดับที่ไม’ซับซ้อน เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายเข้าใจ ยอมรับปัญหาของตนเอง ปรับเปลี่ยน อารมณ์ ความคิด พฤติกรรม วิธีการปรับตัว หรือ แก้ปัญหา บุคลิกภาพที่บกพร่องให้เหมาะสม และใช้ศักยภาพของตนเองได้
๓. ส่งเสริม ป้องกัน เฝ็าระวัง แก้ไขปัญหา พฤติกรรม สุขภาพจิตหรือสมรรถภาพทางจิตใจของ กลุ่มเป้าหมาย โดยการวิเคราะห์ วางแผน ดำเนินการ ด้วยเครื่องมือและกระบวนการทางจิตวิทยาคลินิก เพื่อ พัฒนาศักยภาพ ในการดำเนินชีวิตได้เหมาะสมยิ่งขึ้น ป้องกันการกลับมาป่วยซํ้า หรือกระทำผิดชํ้า
๔. รวบรวม ศึกษา ช้อมูลงานวิจัย ด้านจิตวิทยาคลินิก และวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวช้องเพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์ความรู้ หรือนวัตกรรมด้านจดิวทยาคลินิก
๕. สรุปสถิติ รายงานผลการปฏิบัติงาน ทางจิตวิทยาคลินิก เสนอผู้บังคับบัญชาเพื่อประกอบการ วางแผน พัฒนาการปฏิบัติงาน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลข้อเท็จจริง แก1บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเช้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที,ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
๑. เผยแพร่ ประขาสัมพันธ์ความรู้วิชาการ จิตวิทยาคลินิก วิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ มีความเข้าใจ ปรับใช้ในการดำเนินชีวิต
๒. ถ่ายทอด สกอบรม องค์ความรู้ เทคโนโลยีด้านจิตวิทยาคลินิก จัดทำแผนการ สกอบรม เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ ของนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป


นักเทคนิคการแพทย์

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านเทคนิคการแพทย์ ภายใต้การกำกับแนะนำ ตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับ มอบหมาย
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการขั้นพื่นฐาน ควบคุมระบบคุณภาพตา มาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับผลการตรวจวิเคราะห์ที่ถูกต้อง แม่นยำและทันเวลา
(๒) รวบรวมข้อมูลทางวิชาการฟ้องต้นด้านเทคนิคการแพทย์ที่ไม1ยุ่งยากซับซ้อนเพื่อ ประกอบการวางแผนการจัดทำรายงานทางวิชาการ เพื่อพัฒนางานด้านเทคนิคการแพทย์และสาธารณสุข
(๓) ติดตามประเมินผล สรุปการศึกษา วิเคราะห์และวิจัยด้านเทคนิคการแพทย์เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของผนงานโครงการที่รับผิดชอบ
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย สำรวจข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้นที่ไม่ซับซ้อน เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน การวางแผนพัฒนางานด้านเทคนิคการแพทย์และสาธารณสุข
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดขอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมถุทธิ๋ตามทีกำหนด
(๒) ขี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที,เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับงานการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้แก’ผู้ใช้บริการ ผู้ป่วย ญาติ ประชาชนทั่วไป เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานทางห้องปฏิบัติการ
(๒) สอน แนะนำ การปฏิบัติงาน แก1บุคลากรด้านสาธารณสุขและนักศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานทางห้องปฏิบัติการและแก่ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ให้บริการข้อมูลแก1ผู้ที,เกี่ยวช้องในเรืองที,เกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบเพื่อให้ได้ทราบ ข้อมูลและความรู้ต่างๆที่เป็นประโยชน์สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน


นักรังสีการแพทย์

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาชีพรังสีการแพทย์ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานด้านรังสีการแพทย์ขั้นพื้นฐานในการตรวจวินิจฉัยหรือการรักษาทางรังสีวิทยา และตรวจสอบคุณภาพของงานตามมาตรฐานวิชาชีพรังสีเทคนิคเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการตรวจรักษาที่ถูกต้อง เหมาะสม
(๒) ช่วยปฏิบัติงานจัดระบบบริหารงานด้านเทคนิคและเครื่องมือด้านใดด้านหนึ่งทาง รังสีวินิจฉัยรังสีรักษา และเวชศาสตร์นิวเคลียร์ตามบทบาทรังสีเทคนิคเพื่อพัฒนางานด้านรังสีการแพทย์และ
สาธารณสุข
(๓) ช่วยปฏิบัติงานปรับปรุงและพัฒนาเทคนิคการตรวจวินิจฉัยและการรักษาทางด้านใด ด้านหนึ่งทางรังสีวินิจฉัยรังสีรักษา และเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับการพัฒนางานด้าน รังสีการแพทย์ให้มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับผู้รับบริการ
(๔) ดำเนินการด้านเทคนิคในการป้องกันอันตรายจากรังสีและการกำจัดกากกัมมันตรังสี เพื่อให้ผู้รับบริการมีความปลอดภัยจากรังสี
(๕) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ดำเนินการจัดทำอุปกรณ์ร่วมประกอบการถ่ายภาพและฉายรังสี ในงานด้านใดด้านหนึ่งทางรังสีวินิจฉัยรังสีรักษา และเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน พัฒนางานด้านรังสีการแพทย์และสาธารณสุข
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวซ้องเพื่อ สร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที,ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้ข้อมูลเชิงวิชาการเบื้องต้นแก่ผู้ป่วย และผู้สนใจตลอดจนเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับ การใช้และการป้องกันอันตรายจากรังสีเพื่อความปลอดภัยแก่ตัวผู้ป่วยเองและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
(๒) จัดเก็บข้อมูลและให้บริการข้อมูลเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยที,เข้ารับการบริการทางรังสี การแพทย์เพื่อความปลอดภัยสูงสุดของผู้ป่วย

(๓) ส่งเสริมหรือประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรทางรังสีการแพทย์นำมาตรฐานวิชาชีพรังสีเทคนิค ไปใชีในการปฏิบัติงานเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการทางรังสีการแพทย์อย่างถูกต้องเหมาะสม และเกิดความปลอดภัย สูงสุดต่อชีวิตของผู้รับบริการ


นักรังสีการแพทย์

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นทีต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาชีพรังสีการแพทย์ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานด้านรังสีการแพทย์ขั้นพื้นฐานในการตรวจวินิจฉัยหรือการรักษาทางรังสีวิทยา และตรวจสอบคุณภาพชองงานตามมาตรฐานวิชาชีพรังสีเทคนิคเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการตรวจรักษาทีถูกต้อง เหมาะสม
(๒) ช่วยปฏิบัติงานจัดระบบบริหารงานด้านเทคนิคและเครื่องมือด้านใดด้านหนึ่งทาง รังสีวินิจฉัยรังสีรักษา และเวชศาสตร์นิวเคลียร์ตามบทบาทรังสีเทคนิคเพื่อพัฒนางานด้านรังสีการแพทย์และ
สาธารณสุช
(๓) ช่วยปฏิบัติงานปรับปรุงและพัฒนาเทคนิคการตรวจวินิจฉัยและการรักษาทางด้านใด ด้านหนึ่งทางรังสีวินิจฉัยรังสีรักษา และเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับการพัฒนางานด้าน รังสีการแพทย์ให้มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับผู้รับบริการ
(๔) ดำเนินการด้านเทคนิคในการป้องกันอันตรายจากรังสีและการกำจัดกากกัมมันตรังสี เพื่อให้ผู้รับบริการมีความปลอดภัยจากรังสี
(๕) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ดำเนินการจัดทำอุปกรณ์ร่วมประกอบการถ่ายภาพและฉายรังสี ในงานด้านใดด้านหนึ่งทางรังสีวินิจฉัยรังสีรักษา และเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน พัฒนางานด้านรังสีการแพทย์และสาธารณสุข
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที,รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที’เกี่ยวข้องเพื่อ สร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้ข้อมูลเชิงวิชาการเบื้องต้นแก่ผู้ป่วย และผู้สนใจตลอดจนเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับ การใช้และการป้องกันอันตรายจากรังสีเพื่อความปลอดภัยแก่ตัวผู้ป่วยเองและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
(๒) จัดเก็บข้อมูลและให้บริการข้อมูลเบื้องต้นแก’ผู้ป่วยที่เข้ารับการบริการทางรังสี การแพทย์เพื่อความปลอดภัยสูงสุดของผู้ป่วย

(๓) ส่งเสริมหรือประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรทางรังสีการแพทย์นำมาตรฐานวิชาชีพรังสีเทคนิค ไปใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการทางรังสีการแพทย์อย่างถูกต้องเหมาะสม และเกิดความปลอดภัย สูงสุดต่อชีวิตของผู้รับบริการ


เภสัชกร

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที’ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านเภสัชกรรม ภายใต้การกำกับแนะนำ ตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นที’ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) บริการทางเภสัชกรรมเภสัชสาธารณสุขเบื้องต้นเพื่อบรรลุผลการรักษา ป้องกันควบคุมโรค และประชาชนเกิดความปลอดภัยในการใช้ยาสมุนไพร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
(๒) คุ้มครองผู้บริโภคตรวจวิเคราะห์ประกันคุณภาพทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้นด้านยา สมุนไพร ผลิตภัณฑ์ และบริการสุขภาพเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการได้มาตรฐานเป็นธรรมและความ ปลอดภัย
(๓) ศึกษาด้นคว้า วิเคราะห์ วิจัยกำหนดแนวทาง ติดตามประเมินผลทางวิชาการเบื้องต้นเพื่อ พัฒนางานเภสัชกรรมเภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค
(๔) จัดทำพัฒนามาตรฐาน แนวทางคู่มือเบื้องต้นทางเภสัชกรรมเภสัชสาธารณสุข การ คุ้มครองผู้บริโภคสมุนไพร ผลิตภัณฑ์สุขภาพการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของงาน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที,รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธิ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก’บุคคลหรือหน่วยงานที’เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำตอบปัญหา ชี้แจงเกี่ยวกับงานเภสัชกรรมเภสัชสาธารณสุขการคุ้มครอง ผู้บริโภคในระดับเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยญาติ หน่วยงานราชการ เอกชนหรือประชาชนทั่วไปเพื่อให้ผู้สนใจได้ทราบ ข้อมูลและความรู้ต่างๆที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลให้บริการข้อมูลเบื้องต้นทางเภสัชกรรมเภสัชสาธารณสุข การคุ้มครอง ผู้บริโภคเพื่อให้สอดคล้องสนับสนุนภารกิจชองหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากำหนดแผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
(๓) สอนนิเทศ ฟิกอบรม ถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีทางเภสัชกรรมเภสัชสาธารณสุชการ คุ้มครองผู้บริโภคแก,นักศึกษาบุคลากรสาธารณสุขเพื่อให้มีความรู้ความเช้าใจสามารถปฏิบัติงานได้อย่าง ถูกต้อง


นายแพทย์

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานต้านการแพทย์โดยเฉพาะอย่างยิงด้านกระดูกและข้อต่อ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค ฟินฟู ส่งเสริมสุขภาพ ควบคุม ป้องกันโรค และภัยสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี และสามารถป้องกันตนเองหรือบุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวช้องให้พ้นจากโรคภัยไข้เจ็บ
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยด้านวิชาการแพทย์และสาธารณสุขเบื้องต้น เพื่อประกอบการ พัฒนาแนวทางการตรวจ ชันสูตร วินิจฉัย บำบัดรักษา พ้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน เพื่อให้ได้ องค์ความรู้ทางวิชาการแพทย์และสาธารณสุข ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมกับภารกิจของส่วนราชการ
(๓) รวบรวมข้อมูลและศึกษาสภาวะสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ และ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อสุขภาพของประชาชน เพื่อวางแผนการดำเนินงานตรวจ วินิจฉัย รักษา ควบคุม ป้องกัน เฝ็าระวัง รักษาโรค และพ้นฟู ล่งเสริมสุขภาพ ทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ บริบทของพื้นที่
(๔) ตรวจชันสูตรทางนิติเวชศาสตร์และเหตุตายทางนิติเวชศาสตร์ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานทางนิติเวชศาสตร์ เพื่อให้ทราบสาเหตุของการเสียชีวิต
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานงานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้ เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก’บุคคลหรือหน่วยงานที’ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจง เกี่ยวกับงานการแพทย์ การควบคุมป้องกันโรค การพื่นฟูสภาพและการส่งเสริมสุขภาพ ที่ตนมีความรับผิดชอบในระดับเบื้องต้น แก่ผู้ป่วยและญาติ หน่วยงาน ราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจ ได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆที่เป็นประโยชน์และ สามารถนำไปปฏิบัติให้มีสุขภาพที่ดี
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่ เกี่ยวกับงานการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(๓) ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข แก่บุคลากร สาธารณสุขนักศึกษาและประชาชน เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และ มีประสิทธิภาพ

วิธีการสมัครงานข้าราชการ กรมการแพทย์  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 12 ต.ค. – 20 ต.ค. 2564 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดไฟล์ “กรมการแพทย์

แผนที่ | ประกาศ 1 | เว็บรับสมัคร |