“สมอ.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม “
ลิงค์: https://ehenx.com/15446/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ(ด้านไฟฟ้า),นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ(ด้านโยธา),นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ(ด้านเครื่องกล),นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ(ด้านอุตสาหการ),นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ(ด้านเคมี),นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ(ด้านวิทยาศาสตร์),นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ,นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-15,000
อัตราว่าง: 20
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 1 ต.ค. – 26 ต.ค. 2564
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
สมอ.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ในตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ ตำแหน่งนักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ และตำแหน่งเจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ด้วย สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคล เข้ารับราชการในตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านไฟฟ้า) ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านโยธา) ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเครื่องกล) ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอุตสาหการ) ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเคมี) ตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์) ตำแหน่งนักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ และ ตำแหน่งเจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ และ ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ เรื่อง แนวทางการดำเนินการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขัน เพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ในตำแหน่งนักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ ตำแหน่งนักวิชาการ เผยแพร่ปฏิบัติการ ตำแหน่งนักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ และตำแหน่งเจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน ดังรายละเอียดต่อไปนี้
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านไฟฟ้า)
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000- บาท
- สำนักงานอัยการสูงสุด เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-13 ม.ค. 2568 รวม 27 อัตรา,
- สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิคเขาวง เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ 28 ก.พ. -5 มี.ค. 2568
- กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ บัดนี้-9 ธ.ค. 2567 รวม 6 อัตรา,
- กรมควบคุมมลพิษ เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-13 ธ.ค. 2567 รวม 7 อัตรา,
- สำนักงานประกันสังคม เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-12 ธ.ค. 2567 รวม 10 อัตรา,
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านโยธา)
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเครื่องกล)
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอุตสาหการ)
อัตราว่าง : 5 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเคมี)
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์)
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500- บาท
คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านไฟฟ้า)
ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมไฟฟ้า ทางวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง ทางวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางวิศวกรรม ไฟฟ้าสื่อสาร
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านโยธา)
ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมโยธา
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเครื่องกล)
ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมเครื่องกล ทางวิศวกรรมยานยนต์ หรือทางวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์และทุ่นยนต์
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอุตสาหการ)
ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมอุตสาหการ
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเคมี)
ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมเคมี ทางวิศวกรรมปิโตรเคมี หรือทางปิโตรเคมีและวัสดุพอลิเมอร์
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์)
ได้รับปริญญาตรื หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ หรือสาขาวิชาเกษตรศาสตร์
นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดีในระดับเดียวกันในสาขาวิชานิเทศศาสตร์
นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในทุกสาขาวิชา
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านไฟฟ้า)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน โดยปฏิบัติงานด้านวิชาการมาตรฐาน เกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์ ทางด้านไฟฟ้า ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ ค้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวช้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ จัดท0าช้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน และถือปฏิบัติ
(๓) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินค้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(๔) ตรวจสอบการฝ่านืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณา ดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
(๕) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมายเพื่อให้ หน่วยงานดังกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(๖) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแก้ไข ปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาข่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๗) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของ ประเทศสมาชิกและประเทศคู่ค้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสาร ทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของ ประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อเผยแพรให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเปัาหมายและผลส้มฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลส้มฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ต้านการบริการ
(๑) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดหาและ ซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(๒) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก่ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านโยธา)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน โดยปฏิบัติงานด้านวิชาการมาตรฐาน เกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์ ทางด้านโยธา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที,ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ ค้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน และถือปฏิบัติ
(๓) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินค้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(๔) ตรวจสอบการฝ่านืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณา ดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
(๕) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมาย เพื่อให้หน่วยงานดังกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(๖) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแค้ไข ปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๗) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของ ประเทศสมาชิกและประเทศคู่ค้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสาร ทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของ ประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อเผยแพรให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดทาและ ซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(๒) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก่ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเครื่องกล)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน โดยปฏิบัติงานด้านวิชาการมาตรฐาน เกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์ ทางด้านเครื่องกล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ ด้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวช้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน และถือปฏิบัติ
(๓) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินด้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับทั้ง ภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(๔) ตรวจสอบการฝ่าธิเนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณา ดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแกผู้ประกอบการ
(๕) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที,ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมาย เพื่อให้หน่วยงานดังกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(๖) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแกไข ปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๗) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของประเทศ สมาชิกและประเทศค่ด้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสาร ทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของ ประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อเผยแพร่ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวช้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานชองหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดหาและ ซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(๒) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก่ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอุตสาหการ)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน โดยปฏิบัติงานด้านวิชาการมาตรฐาน เกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์ ทางด้านอุตสาหการ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ ค้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน และถือปฏิบัติ
(๓) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวช้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินค้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(๔) ตรวจสอบการฝ่าธิเนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือซัอกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณา ดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
(๕) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมาย เพื่อให้หน่วยงานด้งกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(๖) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแกไข ปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๗) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของ ประเทศสมาชิกและประเทศคู่ค้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสาร ทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของ ประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อเผยแพรให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวช้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานชองหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดหาและ ซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจชองหน่วยงาน
(๒) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก,ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเคมี)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน โดยปฏิบัติงานด้านวิชาการมาตรฐาน เกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์ ทางด้านเคมี ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ ด้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวช้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน และถือปฏิบัติ
(๓) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินค้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(๔) ตรวจสอบการฝ่าแนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณา ดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
(๕) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมาย เพื่อให้หน่วยงานดังกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(๖) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแกไข ปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๗) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของ ประเทศสมาชิกและประเทศคู่ค้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสาร ทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของ ประเทศสมาซิกต่างๆ เพื่อเผยแพรให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป๋าหมายและผลส้มฤทธื้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดหาและ ซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(๒) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก่ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน โดยปฏิบัติงานด้านวิชาการมาตรฐาน เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์กายภาพ หรือเกี่ยวกับ เกษตรศาสตร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ ต้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทางด้านวิชาการมาตรฐาน ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อการกำหนดมาตรฐานภายใน ประเทศ และร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อกำหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง รวมถึงกิจกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน และถือปฏิบัติ
(๓) ตรวจสอบและประเมินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบและรับรองด้านการมาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพสินค้าและบริการ และการรักษามาตรฐานด้านต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับ ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ
(๔) ตรวจสอบการฝ่าฝ่นหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หลักเกณฑ์หรือข้อกำหนดต่างๆ การอุทธรณ์ การร้องเรียน การพักใช้ การเพิกถอน และการยกเลิกการอนุญาตหรือการรับรองเพื่อประกอบการพิจารณา ดำเนินงานตามกฎหมายและมีความเป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการ
(๕) ส่งเสริมและพัฒนาหน่วยงานด้านการมาตรฐานในประเทศ และกำกับดูแลหน่วยงานด้าน การมาตรฐานที่ได้รับมอบหมายเป็นหน่วยงานเครือข่าย พิจารณาจัดทำอัตราค่าใช้จ่ายตามกฎหมาย เพื่อให้หน่วยงานดังกล่าวมีศักยภาพตามมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับในระดับระหว่างประเทศ
(๖) ร่วมวางระบบและพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการบำรุงรักษาและแก่ไข ปัญหาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาข่วยในการปฏิบัติงานในการขยายระบบ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๗) ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของ ประเทศสมาชิกและประเทศคู่ค้า จัดทำความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน จัดทำฐานข้อมูลและเอกสาร ทางวิชาการ รวมถึงการตอบข้อซักถามทางวิชาการเกี่ยวกับด้านการมาตรฐาน กฎระเบียบทางวิชาการของ ประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อเผยแพรให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด
ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) จัดเก็บข้อมูล เอกสาร ทะเบียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในความรับผิดชอบ ร่วมจัดทาและ ซ่อมบำรุงอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(๒) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ข้อแนะนำทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ แก่ผู้ประกอบการผู้สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเผยแพร่ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ และเสนอแนะความคิดเห็นในการกำหนดนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ในการ เผยแพร่ ข่าวสารและความรู้ เพื่อให้การปรับปรุงงานด้านการเผยแพร่ของหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น
(๒) ศึกษา ด้นคว้า รวบรวมข้อมูลทางวิชาการและวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อใช้ประกอบ ในการ จัดทำแผนงานโครงการและการเผยแพร่กิจกรรม ความรู้ ของหน่วยงาน
(๓) ร่วมศึกษาวิจัย ด้านการเผยแพร่กิจกรรมข่าวสาร ความรู้ และสรุปผลการศึกษา เพื่อใช้ประกอบในการกำหนดนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการการดำเนินงานเผยแพร่กิจกรรม ข่าวสาร ความรู้ของหน่วยงาน และเผยแพร่แก่หน่วยงานอื่น
(๔) สำรวจ รวบรวม วิเคราะห์ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อใข้ในการกำหนด นโยบาย แผนยุทธศาสตร์และโครงการเกี่ยวกับการดำเนินงานเผยแพร่ กิจกรรม ข่าวสาร ความรู้
(๕) เรียบเรียงข่าวสาร บทความ เพื่อเผยแพร่แก่กลุ่มเป้าหมายผ่านสื่อ และช่องทาง การเผยแพร่ต่าง ๆ
(๖) จัดทำสื่อ เพื่อเผยแพร่กิจกรรม ข่าวสาร ความรู้ของหน่วยงานแก่กลุ่มเป้าหมาย ผ่านช่อง ทางการสื่อสารต่าง ๆ
(๗) ดำเนินการเผยแพร่กิจกรรม ความรู้ และประสานงานการเผยแพร่กับหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติแกประขาชนเกี่ยวกับความรู้และข่าวสารผลงานของหน่วยงาน ผ่านสื่อและช่องทางการเผยแพร่ต่าง ๆ
(๘) กำกับดูแลการเผยแพร่กิจกรรม ข่าวสาร ความรู้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย
(๙) ร่วมดำเนินการประเมินผล การดำเนินงานเผยแพร่กิจกรรม ข่าวสาร ความรู้ เพื่อปรับปรุง การดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
(๑๐) จัดทำระบบและฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานด้านการเผยแพร่ กิจกรรม ข่าวสาร ความรู้ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑)ให้บริการข้อมูลข่าวสาร เพื่อการเผยแพร่เบื้องต้นแก่ส่วนราชการ หน่วยงาน องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และสื่อมวลชน
(๒)ให้คำปรึกษา แนะนำ ความรู้เบื้องต้นแก่บุคคลผู้ที่สนใจทั่วไป เพื่อเป็นประโยชน์และ สร้างความเข้าใจแก่บุคคลทั่วไป
นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการภายในสำนักงานหรือการบริหารราชการทั่วไป ภายใด้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามทีได้รับมอบหมายโดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา รวบรวมข้อมูล สถิติ สรุปรายงาน เพื่อสนับสนุนการบริหารสำนักงานในค้านต่างๆ เช่น งานบริหารทรัพยากรบุคคล งานบริหารงบประมาณ งานบริหารแผนปฏิบัติราชการงานบริหาร อาคารสถานที่ และงานสัญญาต่าง ๆ เป็นต้น
(๒) ปฏิบัติงานเลขานุการของผู้บริหาร เช่น การกลั่นกรองเรื่อง การ จัดเตรียมเอกสารสำหรับ การประชุม เป็นต้น เพื่อไมให้เกิดข้อผิดพลาดในการวินิจฉัยสั่งการของผู้บริหาร
(๓) จัดเตรียมการประชุม บันทึกและเรียบเรียงรายงานการประชุม และรายงานอื่นๆ เพื่อให้การ บริหารการประชุมมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
(๔) ทำเรื่องติดต่อกับหน่วยงานและบุคคลต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้การ ดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด
(๕) ช่วยติดตามการปฏิบัติตามมติของที่ประชุม หรือการปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บริหารของ หน่วยงาน เพื่อการรายงานและเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาของผู้บังคับบัญชาต่อไป
๒. ต้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวช้อง เพื่อสร้างความเช้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ตอบปัญหา ชี้แจง และให้คำแนะนำเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้น แก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบข้อมูลและเกิดความเช้าใจในงาน ที่รับผิดชอบ
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาปฏิบัติงานพัสดุ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานชั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุในการจัดหา จัดชื้อ ว่าจ้าง การเก็บรักษา นำส่ง การซ่อมแซม และบำรุงรักษาพัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อให้อยู่ในสภาพดีพร้อมต่อการใช้งาน
(๒) ทำทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญหลักฐานและเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
(๓) ร่างและตรวจชื้อสัญญาชื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึกย่อเรื่องเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินงาน
(๔) รายงาน สรุปความเห็นเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผู้บังคับบัญชาในหน่วยงาน
(๕) ศึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับระเบียบงานพัสดุ เพื่อร่วมพัฒนาให้ระเบียบ การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น
(๖) ชี้แจงรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับงานพัสดุให้การปฏิบัติงานมีความโปร่งใสตรวจสอบได้
๒. ต้านการบริการ
(๑)ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบแกผู้ร่วมงาน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเช้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกัน ต่างหน่วยงาน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการ หรือขอความช่วยเหลือในด้านที่ตนรับผิดชอบ
วิชาที่สอบ
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านไฟฟ้า)
ทดสอบความรู้โดยวิธีสอบข้อเขียนแบบปรนัย ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
– ความรู้พื้นฐานด้านการมาตรฐาน (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (Grammar, Reading) (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านไฟฟ้า (๑๐๐ คะแนน)
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านโยธา)
ทดสอบความรู้โดยวิธีสอบข้อเขียนแบบปรนัย ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
– ความรู้พื้นฐานด้านการมาตรฐาน (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (Grammar, Reading) (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านโยธา (๑๐๐ คะแนน)
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเครื่องกล)
ทดสอบความรู้โดยวิธีสอบข้อเขียนแบบปรนัย ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
– ความรู้พื้นฐานด้านการมาตรฐาน (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (Grammar, Reading) (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านเครื่องกล (๑๐๐ คะแนน)
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านอุตสาหการ)
ทดสอบความรู้โดยวิธีสอบข้อเขียนแบบปรนัย ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
– ความรู้พี้นฐานด้านการมาตรฐาน (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (Grammar, Reading) (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านอุตสาหการ (๑๐๐ คะแนน)
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านเคมี)
ทดสอบความรู้โดยวิธีสอบข้อเขียนแบบปรนัย ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
– ความรู้พื้นฐานด้านการมาตรฐาน (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (Grammar, Reading) (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านเคมี (๑๐๐ คะแนน)
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์)
ทดสอบความรู้โดยวิธีสอบข้อเขียนแบบปรนัย ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
– ความรู้พื้นฐานด้านการมาตรฐาน (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (Grammar, Reading) (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ (๑๐๐ คะแนน)
นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
ทดสอบความรู้โดยวิธีสอบข้อเขียนแบบปรนัย และอัตนัย ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
๑. ข้อเขียนแบบปรนัย
– ความรู้พื้นฐานด้านการมาตรฐาน (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (Grammar, Reading) (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านนิเทศศาสตร์ เช่น การจัดทำโครงการฟิกอบรม การจัดกิจกรรมเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ ความรู้ความเข้าใจด้านการสื่อสาร การผลิตสื่อ การเขียนข่าว การเขียนบทความ การเขียนสคริปต์ การออกแบบและการผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อการประชาสัมพันธ์ (๘๐ คะแนน)
๒. ข้อเขียนแบบอัตนัย
– ความรู้ด้านการออกแบบสื่อดิจิทัลเพื่อการประชาสัมพันธ์ (๒๐ คะแนน)
นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ
ทดสอบความรู้โดยวิธีสอบข้อเขียนแบบปรนัย ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
๑. ส่วนที่ ๑ (๑๕๐ คะแนน)
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน
การเก็บรักษาเงิน และการนำส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒
– ความรู้เกี่ยวกับประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
– ความรู้เกี่ยวกับระบบราชการ ๔.๐
๒. ส่วนที่ ๒ (๕๐ คะแนน)
– ความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ (Grammar, Reading)
เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน
ทดสอบความรู้โดยวิธีสอบข้อเขียนแบบปรนัย ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
– ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐
– ความรู้เกี่ยวกับกฎกระทรวง ประกาศ และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องกับการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหาร พัสดุภาครัฐ
– ความรู้เกี่ยวกับจรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ พ.ศ. ๒๕๔๓
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
วิธีการสมัครงานข้าราชการ สมอ.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. – 26 ต.ค. 2564 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ดาวน์โหลดไฟล์ “สมอ.สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
แผนที่ ประกาศ 1 | เว็บรับสมัคร |