“กศจ.นครราชสีมา“
ลิงค์: https://ehenx.com/13815/ หรือ
ตำแหน่ง: ครู
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 15,050-15,800
อัตราว่าง: 173
ปฏิบัติงานที่: นครราชสีมา (ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช)
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 30 มี.ค. 2564
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กศจ.นครราชสีมา เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาตําแหน่งครูผู้ช่วย กรณีที่มีความจําเป็นหรือมีเหตุพิเศษ
สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2564
ด้วยคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา ในคราวประชุมครั้งที่ 2/2564 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564 มีมติอนุมัติให้สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมาดําเนินการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหน่งครูผู้ช่วย กรณีที่มีความจําเป็นหรือมีเหตุพิเศษ ปี พ.ศ. 2564 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1 – 7 และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา ตามหนังสือสํานักงานก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว 16 ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 หนังสือสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด่วนที่สุด ที่ ศธ 04009/ว 7461 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2563 และหนังสือสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด่วนที่สุด ที่ ศธ 04009/ ว723 ลงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564
ฉะนั้น อาศัยอํานาจตามความในข้อ 13 ของคําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 ประกอบกับมาตรา 23 และมาตรา 50 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม จึงประกาศรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหน่งครูผู้ช่วย กรณีที่มีความจําเป็นหรือมีเหตุพิเศษ สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2564 รายละเอียดดังต่อไปนี้
ครูผู้ช่วย
อัตราว่าง : อัตรา
- สำนักงานอัยการสูงสุด เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-13 ม.ค. 2568 รวม 27 อัตรา,
- สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา วิทยาลัยเทคนิคเขาวง เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ 28 ก.พ. -5 มี.ค. 2568
- กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ บัดนี้-9 ธ.ค. 2567 รวม 6 อัตรา,
- กรมควบคุมมลพิษ เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-13 ธ.ค. 2567 รวม 7 อัตรา,
- สำนักงานประกันสังคม เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ บัดนี้-12 ธ.ค. 2567 รวม 10 อัตรา,
อัตราเงินเดือน : 15,050-15,800 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก:
- ภาษาไทย จำนวน 26 อัตรา
- ภาษาอังกฤษ จำนวน 28 อัตรา
- คณิตศาสตร์ จำนวน 22 อัตรา
- วิทยาศาสตร์ จำนวน 14 อัตรา
- วิทยาศาสตร์ทั่วไป จำนวน 3 อัตรา
- สังคมศึกษา จำนวน 9 อัตรา
- พลศึกษา จำนวน 12 อัตรา
- สุขศึกษา จำนวน 1 อัตรา
- ศิลปศึกษา จำนวน 2 อัตรา
- นาฏศิลป์ จำนวน 1 อัตรา
- ดนตรีศึกษา จำนวน 1 อัตรา
- ดนตรีสากล จำนวน 1 อัตรา
- อุตสาหกรรมศิลป์ จำนวน 2 อัตรา
- คอมพิวเตอร์/คอมพิวเตอร์ศึกษา จำนวน 15 อัตรา
- การศึกษาปฐมวัย/ปฐมวัย จำนวน 28 อัตรา
- ประถมศึกษา จำนวน 4 อัตรา
- เทคโนโลยีทางการศึกษา จำนวน 1 อัตรา
- จิตวิทยาการแนะแนว จำนวน 1 อัตรา
- การศึกษาพิเศษ จำนวน 1 อัตรา
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
ครูผู้ช่วย
- มีคุณวุฒิปริญญาตรีทางการศึกษา หรือปริญญาตรีสาขาอื่นที่ ก.ค.ศ. กำหนดเป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสาขาวิชาที่เปิดรับสมัครรายละเอียดตำแหน่งและคุณวุฒิ กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ที่จะคัดเลือกตามแนบท้ายประกาศรับสมัครสอบ
- เป็นผู้มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู หรือหนังสือรับรองสิทธิ หรือใบอนุญาตปฏิบัติการสอน ที่ยังไม่หมดอายุ (ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้มีอำนาจไม่หลังวันเปิดรับสมัครคัดเลือก ทั้งนี้ เมื่อจะบรรจุและแต่งตั้งครูผู้ช่วยให้ดำรงตำแหน่งครู จะต้องมีใบอนุญาตประกอบวิาชีพครูเท่านั้น)
1. กลุ่มวิชาภาษาไทย รหัสวิชา (01)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
1.๑ ภาษาไทย 1.๒ ภาษาและวรรณคดีไทย
1.๓ การสอนภาษาไทย 1.๔ วรรณคดีไทย
1.๕ ภาษาและวัฒนธรรมไทย 1.๖ ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย
1.๗ วิธีสอนภาษาไทย 1.๘ ภาษาไทยและการสื่อสาร
1.๙ ไทยศึกษา 1.๑๐ ไทยคดีศึกษา
1.๑๑ ภาษาไทยเพื่อการศึกษา
1.๑๒ กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 1.๑ – 1.๑1
2. กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ รหัสวิชา (02)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
2.๑ ภาษาอังกฤษ 2.๒ การสอนภาษาอังกฤษ
2.๓ วรรณคดีภาษาอังกฤษ 2.๔ ภาษาอังกฤษและการสื่อสาร
2.๕ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล 2.๖ ภาษาอังกฤษเฉพาะกิจ
2.๗ ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2.๘ ภาษาอังกฤษและวรรณคดีอังกฤษ
2.๙ ภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ 2.๑๐ การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ
2.๑๑ การสอนวิชาภาษาปัจจุบันต่างประเทศ(อังกฤษ) 2.12 วิธีสอนภาษาอังกฤษ
2.13 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ 2.14 การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ
2.15 ภาษาอังกฤษชั้นสูง 2.16 ภาษาและวรรณคดีอังกฤษ
2.17 วิธีสอนภาษาอังกฤษ
2.๑8 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 2.๑ – 2.๑7
3. กลุ่มวิชาภาษาจีน รหัสวิชา (03)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
3.๑ ภาษาจีน 3.๒ การสอนภาษาจีน
3.๓ การสอนภาษาจีนเป็นภาษาต่างประเทศ 3.4 ภาษาจีนกลาง
3.5 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 3.๑ – 3.4
4. กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา (11)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
4.๑ คณิตศาสตร์ 4.2 การสอนคณิตศาสตร์
4.๓ การสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา 4.๔ คณิตศาสตร์ศึกษา
4.๕ คณิตศาสตร์ประยุกต์ 4.๖ การศึกษาคณิตศาสตร์
4.๗ สถิติ 4.๘ สถิติคณิตศาสตร์
4.๙ สถิติประยุกต์ 4.๑๐ สถิติศาสตร์
4.๑๑ คณิต – ฟิสิกส์
4.๑๒ กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 4.๑ – 4.๑๑
5. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา (12)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
5.๑ วิทยาศาสตร์ 5.๒ วิทยาศาสตร์ทั่วไป
5.๓ วิทยาศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ทั่วไป 5.๔ วิทยาศาสตร์ชีวภาพกายภาพ
5.5 วิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ 5.6 การสอนวิทยาศาสตร์
5.7 การสอนวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา 5.8 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
5.9 การสอนวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 5.10 วิทยาศาสตร์กายภาพ
5.11 การสอนวิทยาศาสตร์กายภาพ 5.12 วิชาเอกวิทยาศาสตร์ – ฟิสิกส์
5.13 วิทยาศาสตร์กายภาพ หรือการสอนวิทยาศาสตร์กายภาพ 5.14 การศึกษาวิทยาศาสตร์
5.15 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือการสอนวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 5.16 วิทยาศาสตร์การศึกษา
5.17 เคมีทั่วไป 5.18 เคมี
5.19 การสอนเคมีระดับมัธยมศึกษา 5.20 การสอนเคมี
5.21 เคมีศึกษา 5.22 เคมีเทคนิค
5.23 ชีวเคมี 5.24 อินทรีย์เคมี
5.25 วัสดุศาสตร์ 5.26 ชีววิทยา
5.27 การสอนชีววิทยา 5.28 การสอนชีววิทยาระดับมัธยมศึกษา
5.29 จุลชีววิทยา 5.30 พันธุศาสตร์
5.31 พฤกษศาสตร์ 5.32 สัตววิทยา
5.33 ชีววิทยาทั่วไป 5.34 ชีววิทยาประยุกต์
5.35 ฟิสิกส์ 5.36 การสอนฟิสิกส์
5.37 การสอนฟิสิกส์ระดับมัธยมศึกษา 5.38 ฟิสิกส์ประยุกต์
5.39 วิทยาศาสตร์ชีววิทยา 5.40 วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
5.41 วิศวกรรมเคมี 5.42 เคมีวิเคราะห์
5.43 เทคโนโลยีชีวภาพ 5.44 เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
5.45 คณิตศาสตร์ – เคมี 5.46 คณิตศาสตร์ – ฟิสิกส์
5.47 คณิตศาสตร์ – วิทยาศาสตร์ 5.48 การสอนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
5.49 วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ 5.50 โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
5.51 การสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป 5.52 สาขาวิชาเคมี
5.53 สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป 5.54 สาขาวิชาชีววิทยา
5.55 สาขาวิชาฟิสิกส์ 5.56 วิทยาศาสตร์ – ชีววิทยา
5.57 วิชาเอกวิทยาศาสตร์ 5.58 วิทยาศาสตร์ – เคมี
5.59 วิทยาศาสตร์ – ฟิสิกส์ 5.60 วิชาเอกวิทยาศาสตร์ – เคมี
5.61 วิชาเอกวิทยาศาสตร์ – ชีววิทยา 5.62 วิทยาศาสตร์ศึกษา
5.63 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 5.๑ – 5.62
6. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป รหัสวิชา (13)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
6.๑ วิทยาศาสตร์ 6.๒ วิทยาศาสตร์ทั่วไป
6.๓ การสอนวิทยาศาสตร์ 6.๔ วิทยาศาสตร์ศึกษา
6.5 การสอนวิทยาศาสตร์กายภาพ 6.6 การสอนวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
6.7 วิทยาศาสตร์กายภาพ 6.8 วิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ
6.9 วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 6.10 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
6.11 วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม 6.12 นิเวศวิทยาสิ่งแวดล้อม
6.13 วิทยาศาสตร์ชีวภาพกายภาพ 6.14 การสอนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา
6.15 การศึกษาวิทยาศาสตร์
6.16 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 6.๑ – 6.15
7. กลุ่มวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา (17)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
7.๑ สังคมศึกษา 7.๒ การสอนสังคมศึกษา
7.๓ ประวัติศาสตร์ 7.๔ ภูมิศาสตร์
7.5 การสอนสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา 7.6 สังคมศาสตร์
7.7 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 7.8 สังคมศาสตร์การพัฒนา
7.9 พัฒนาสังคม 7.10 วัฒนธรรมศึกษา
7.11 การพัฒนาชุมชน 7.12 รัฐศาสตร์(การเมืองการปกครอง)
7.13 รัฐศาสตร์ 7.14 รัฐประศาสนศาสตร์
7.15 การสอนสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม 7.16 เศรษฐศาสตร์
7.17 สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา 7.18 สหวิทยาการสังคมศาสตร์
7.19 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 7.๑ – 7.18
8. กลุ่มวิชาพลศึกษา รหัสวิชา (21)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
8.๑ พลศึกษา 8.๒ การสอนพลศึกษา
8.๓ วิทยาศาสตร์การกีฬา 8.๔ การฝึกและการจัดการกีฬา
8.5 สันทนาการ 8.6 นันทนาการ
8.7 การสอนสุขศึกษาและพลศึกษา 8.8 ศึกษาศาสตร์ – พลศึกษา
8.9 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 8.๑ – 8.8
9. กลุ่มวิชาสุขศึกษา รหัสวิชา (22)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
9.๑ สุขศึกษาหรือการสอนสุขศึกษา 9.๒ สาธารณสุขหรือสาธารณสุขศาสตร์
9.3 อนามัยครอบครัว 9.4 ชีวอนามัย
9.5 ศึกษาศาสตร์-สุขศึกษา 9.6 สุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ
9.7 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 9.๑ – 9.6
10. กลุ่มวิชาศิลปศึกษา รหัสวิชา (23)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
10.๑ ศิลปะ 10.๒ ศิลปศึกษา
10.๓ ศิลปไทย 10.๔ ศิลปะไทย
10.5 ศิลปกรรม 10.6 ศิลปกรรมศึกษา
10.7 การสอนศิลปะ 10.8 ศิลปกรรมศาสตร์ศึกษา
10.9 จิตรกรรม 10.10 ทัศนศิลป์
10.11 ศิลปะตกแต่ง 10.12 ประยุกต์ศิลปศึกษา
10.13 ศิลปวิจารณ์ 10.14 ภาพพิมพ์
10.15 ประติมากรรม 10.16 นิเทศศิลป์
10.17 วิจิตรศิลป์ 10.18 ออกแบบทัศนศิลป์
10.19 นฤมิตศิลป์ 10.20 สื่อนฤมิต
10.21 ศิลปะไทยแขนงวิชาช่างสิบหมู่(ช่างเขียน) 10.22 ศิลปะไทยแขนงวิชาช่างสิบหมู่(ช่างรัก)
10.23 ศิลปะไทยแขนงวิชาจิตรกรรมไทย
10.24 ศิลปะไทยแขนงวิชาออกแบบศิลปะ สถาปัตยกรรมไทย
10.25 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 10.๑ – 10.24
11. กลุ่มวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา (26)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
11.๑ นาฏศิลป์ 11.๒ นาฏศิลป์ไทย
11.๓ นาฏศิลป์สากล 11.๔ นาฏศาสตร์
11.5 นาฏศิลป์ไทยศึกษา 11.6 นาฏศิลป์ศึกษา
11.7 นาฏศิลป์และการละคร
11.8 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 11.๑ – 11.7
12. กลุ่มวิชาดนตรีศึกษา รหัสวิชา (28)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
12.๑ ดนตรี 12.๒ ดนตรีศึกษา
12.๓ การสอนดุริยางคศึกษา 12.๔ การสอนดุริยางคศิลป์และนาฏศิลป์
12.5 ศิลปกรรมแขนงวิชาดนตรีศึกษา 12.6 ดุริยางค์ไทย
12.๗ ดุริยางค์ศิลป์ 12.8 ดุริยางค์ศาสตร์
12.9 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 12.๑ – 12.8
13. กลุ่มวิชาดนตรีสากล รหัสวิชา (29)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
13.๑ ดนตรีสากล 13.๒ ดุริยางค์สากล
13.๓ ดนตรีคีตศิลป์สากลศึกษา 13.๔ ดุริยางคศาสตร์(ดนตรีแจ๊ส)
13.5 ดนตรีศึกษา(ดนตรีสากล)
13.6 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 13.๑ – 13.5
14. กลุ่มวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ รหัสวิชา (34)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
14.๑ อุตสาหกรรม 14.2 อุตสาหกรรมศิลป์
14.3 ครุศาสตร์อุตสาหกรรม 14.4 เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
14.5 วิศวกรรมไฟฟ้า 14.6 วิศวกรรม(อุตสาหการ)
14.7 การสอนอุตสาหกรรมศิลป์
14.8 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 14.๑ – 14.7
15. กลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์/คอมพิวเตอร์ศึกษา รหัสวิชา (50)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
15.๑ คอมพิวเตอร์ 15.๒ วิทยาการคอมพิวเตอร์
15.๓ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 15.4 ธุรกิจคอมพิวเตอร์
15.5 คอมพิวเตอร์ศึกษา 15.6 ศาสตร์คอมพิวเตอร์
15.7 วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 15.8 อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
15.9 ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ 15.10 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
15.11 การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 15.12 วิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์
15.13 ระบบสารสนเทศ 15.14 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
15.15 ระบบสารสนเทศการจัดการ 15.16 เทคโนโลยีสารสนเทศ
15.17 วิทยาการสารสนเทศคอมพิวเตอร์ 15.18 เทคโนโลยีการศึกษา
15.19 สารสนเทศสํานักงาน 15.20 สารสนเทศศาสตร์
15.21 สารสนเทศศึกษา 15.22 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
15.23 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ 15.24 คอมพิวเตอร์อาร์ต
15.25 ระบบและการจัดการสารสนเทศ
15.26 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 15.๑ – 15.25
16. กลุ่มวิชาการศึกษาปฐมวัย/ปฐมวัย รหัสวิชา (55)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
16.๑ การศึกษาปฐมวัย 16.๒ ปฐมวัยศึกษา
16.๓ การปฐมวัยศึกษา 16.๔ การอนุบาล
16.5 การอนุบาลศึกษา 16.6 การปฐมวัย
16.7 อนุบาลศึกษา 16.8 ปฐมวัย
16.9 การศึกษาอนุบาล
16.10 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 16.๑ – 16.9
17. กลุ่มวิชาประถมศึกษา รหัสวิชา (56)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
17.๑ ประถมศึกษา 17.๒ การประถมศึกษา
17.3 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 17.๑ – 17.2
18. กลุ่มวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา รหัสวิชา (57)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
18.๑ โสตทัศนศึกษา 18.๒ เทคโนโลยีทางการศึกษา
18.3 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา 18.4 เทคโนโลยีการศึกษา
18.5 การสื่อสารมวลชนหรือการสื่อสารมวลชนทั่วไป 18.6 บริการสื่อการศึกษา
18.7 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 18.๑ – 18.6
19. กลุ่มวิชาจิตวิทยาและการแนะแนว รหัสวิชา (59)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
19.๑ จิตวิทยา 19.2 จิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนว
19.3 จิตวิทยา(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2546) 19.4 จิตวิทยาองค์การ
19.5 จิตวิทยาการให้บริการปรึกษาและแนะแนว 19.6 จิตวิทยาและการแนะแนว
19.7 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 19.๑ – 19.6
20. กลุ่มวิชาการศึกษาพิเศษ รหัสวิชา (65)
ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก
20.๑ การศึกษาพิเศษ 20.2 การศึกษา (การศึกษาพิเศษ)
20.3 การศึกษาพิเศษ – ภาษาไทย 20.4 การศึกษาพิเศษและภาษาอังกฤษ
20.5 กลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอกในแบบเอกคู่ที่มีวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่ง หรือวิชาเอกทั้งคู่ตรงตามชื่อ
ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก ตามข้อ 20.๑ – 20.4
วิชาที่สอบ
ครูผู้ช่วย
ดำเนินการคัดเลือก โดยวิธีการสอบข้อเขียน ประเมินประวัติและผลงาน และสัมภาษณ์คะแนนเต็ม 300 คะแนน ดังนี้
- ความรอบรู้ (คะแนนเต็ม 50 คะแนน) ให้ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัยในเรื่องต่อไปนี้
- สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน
- นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
- วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
- กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ
- พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
- พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับครพิการ พ.ศ.2551
- กฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่วนราชการนั้น สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมิได้กําหนดเพิ่มเติม
- ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน โดยเน้นเนื้อหาความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษระดับพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในตำแหน่งครูผู้ช่วย
- ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครู (คะแนนเต็ม 50 คะแนน) ให้ทดสอบโดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย ในเรื่องต่อไปนี้
- วินัยและการรักษาวินัย
- คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
- มาตรฐานวิชาชีพ
- จรรยาบรรณวิชาชีพ
- สมรรถนะวิชาชีพ
- ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา (คะแนนเต็ม 50 คะแนน) ให้ทดสอบโดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย ในเรื่องต่อไปนี้
- หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร
- หลักการสอนที่เน้นการสอนคิดวิเคราะห์และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
- การพัฒนาผู้เรียน
- การบริหารจัดการชั้นเรียน
- การวิจัยทางการศึกษา
- สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
- การวัดและประเมินผลการศึกษา
- ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาเอก (คะแนนเต็ม 50 คะแนน) ทดสอบโดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย
ประเมินโดยวิธีการสัมภาษณ์ สังเกต ตรวจสอบเอกสาร หรือวิธีอื่นที่เหมาะสม โดยประเมินจาก
- ประวัติและผลงานซึ่งได้รับการรับรองจากผู้อำนวยการสถานศึกษา (50 คะแนน)
- สัมภาษณ์ (50 คะแนน)
วิธีการสมัครงานข้าราชการ กศจ.นครราชสีมา :ตนเอง
ผู้ประสงค์จะสมัครสามารถดาวน์โหลดใบสมัครจากเว็บไซต์สํานักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดนครราชสีมา www.npeo.go.th โดยให้ยื่นใบสมัครด้วยตนเอง ระหว่างวันพุธที่ 24 -วันอังคารที่ 30 มีนาคม 2564 เวลา 08.30 น.– 12.00 น.และเวลา 13.00 น. – 16.30 น.) ไม่เว้นวันหยุดราชการ ณ ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช ชั้น G บริเวณทางเข้า GATE
ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช ตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2564 – 30 มีนาคม 2564 (ในวันและเวลาราชการ)
ดาวน์โหลดไฟล์ “กศจ.นครราชสีมา