กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ 9 พ.ย. -14 พ.ย. 2563 รวม 49 อัตรา,

แชร์เลย

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเปิดรับสมัครสอบพนักงานราชการ

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

ลิงค์: https://ehenx.com/11770/ หรือ
ตำแหน่ง: นักจัดการงานทั่วไป,นักวิชาการเงินและบัญชี,นักวิชาการอุตสาหกรรม,นักวิชาการพัสดุ,นิติกร,วิศวกร,เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์,นักวิเทศสัมพันธ์
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 18,000-
อัตราว่าง: 49
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 9 พ.ย. – 14 พ.ย. 2563
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

เรื่อง รับสมัครบุคคลเพี่อเสือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป

ด้วยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ประสงคํจะรับสมัครบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชกวรทั่วไป ฉะนั้น อาสัยอำนาจตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วธืการ และเงื่อนไข การสรรหาและการเสือกสรรพนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและ คุณสมบัติเฉพาะของกลุมงานและการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ คุมภาพ้นธ์ ๒๕๕๔ จ้งประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเสือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป โดยมีรายละเอียด ต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

ชี่อตำแหน่ง และอัตราว่างครั้งแรก จำนวน ๔๙ อัตรา
(๑) นักอัดการงานทั่วไป อัตราว่าง ๓ อัตรา
(๒) นักวิชาการเงินและบัญชี อัดราว่าง ๒ อัตรา
(๓) นักวิชาการอุตสาหกรรม อัตราว่าง ๒๙ อัตรา
(๔) นักวิชาการพัสดุ อัตราว่าง ๓ อัตรา
(๕) นิติกร อัตราว่าง ๘ อัตรา
(๖) วิศวกร อัตราว่าง ๑ อัตร่า
(๗) เอัาหนัาที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ อัตราว่าง ๒ อัตรา
(๘) นักวิเทศสัมพันธ์ อัตราว่าง ๑ อัตรา

นักจัดการงานทั่วไป

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

ปฏิบัติงานที่:

๑. กองพัฒนาดิจิท้ลอุตสาหกรรม    จำนวน ๑ อัตรา
๒. กองพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชน    จำนวน ๑ อัตรา
๓. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๘ จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน ๑ อัตรา


นักวิชาการเงินและบัญชี

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

ปฏิบัติงานที่:

๑. สำนักงานเลขานุการกรม    จำนวน ๑ อัตรา
๒. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๙ จังหวัดชลบุรี    จำนวน ๑ อัตรา


นักวิชาการอุตสาหกรรม

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 29 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

ปฏิบัติงานที่:

๑. สำนักงานเลขานุการกรม
๒. กองพัฒนาขีดความสามารถธุรกิจอุตสาหกรรม
๓. กองพัฒนาดิจิทัลอุตสาหกรรม
๔. กองพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
๕. กองพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชน
๖. กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
๗. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน
๘. กองโลจิสติกส์
๙. กองส่งเสริมผู้ประกอบการและธุรกิจใหม่
๑๐. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๓ จังหวัดพิจิตร
๑๑. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๔ จังหวัดอุดรธานี
๑๒. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๕ จังหวัดขอนแก่น
๑๓. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๖ จังหวัดนครราชสีมา


นักวิชาการพัสดุ

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

ปฏิบัติงานที่:

๑. สำนักงานเลขานุการกรม    จำนวน ๑ อัตรา
๒. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน    จำนวน ๑ อัตรา
๓. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๙ จังหวัดชลบุรี    จำนวน ๑ อัตรา


นิติกร

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 8 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

ปฏิบัติงานที่:

๑. สำนักงานเลขานุการกรม จำนวน ๑ อัตรา
๒. กองพัฒนาขีดความสามารถธุรกิจอุตสาหกรรม จำนวน ๑ อัตรา
๓. กองพัฒนาดิจิทัลอุตสาหกรรม จำนวน ๑ อัตรา
๔. กองพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จำนวน ๑ อัตรา
๕. กองพัฒนาอุตสาหกรรมชุมชน จำนวน ๑ อัตรา
๖. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๑ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน ๑ อัตรา
๗. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๒ จังหวัดพิษณุโลก จำนวน ๑ อัตรา
๘. ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๑๑ จังหวัดสงขลา จำนวน ๑ อัตรา


วิศวกร

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

ปฏิบัติงานที่: ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ ๑ จังหวัดเชียงใหม่    จำนวน ๑ อัตรา


เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

ปฏิบัติงานที่: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จำนวน ๒ อัตรา


นักวิเทศสัมพันธ์

ประเภท : บริหารทั่วไป

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

ปฏิบัติงานที่: กองยุทธศาสตร์และแผนงาน

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

นักจัดการงานทั่วไป

ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอื่นที่เทยบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาชาวิชา


นักวิชาการเงินและบัญชี

ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในคุณวุฒิสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ ทางบัญชี ทางการเงิน หรือทางการเงินและการธนาคาร หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ทางเศรษฐศาสตร์การเงิน


นักวิชาการอุตสาหกรรม

ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอื่นที่เทยบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาชาวิชา


นักวิชาการพัสดุ

ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอื่นที่เทยบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาชาวิชา


นิติกร

ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในคุณวุฒิสาขาวิชานิติศาสตร์


วิศวกร

ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในคุณวุฒิสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมอุตสาหการ ทางวิศวกรรมเครื่องกล หรือทางวิศวกรรมไฟฟ้า


เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์

ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในคุณวุฒิสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ ทางคอมพิวเตอร์


นักวิเทศสัมพันธ์

  1. ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอื่นที่เทียบได็ในระดับเดียวกันในคุณวุฒิสาขาวิชาภาษา วรรณคดี ทางภาษาอังกฤษ
  2. มีความสามารถด้านภาษาอังกฤษ การอ่าน การพูด การเขียน ในระดับดีมาก

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

นักจัดการงานทั่วไป

(๑) ศึกษา รวบรวมข้อมูล สถิติ สรุปรายงาน เพื่อสนับสบุนการบริหารสำนักงานในด้านต่าง ๆ เช่น งานบริหารทรัพยากรบุคคล งานบริหารงบประมาณ งานบริหารแผนปฏิบัติราชการ งานบริหารอาคาร สถานที่และงานสัญญาต่าง ๆ เป็นต้น
(๒) ปฏิบัติงานเลขานุการของผู้บริหาร เช่น การกลั่นกรองเรื่อง การจัดเตรียมเอกสารสำหรับ การประชุม เป็นต้น เพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการวินิจฉัยสังการของผู้บริหาร
(๓) จัดเตรียมการประชุม บันทึกและเรียบเรียงรายงานการประชุม และรายงานอื่น ๆ เพื่อให้ การบริหารกว่าประชุมมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
(๔) ทำเรื่องติดต่อกับหน่วยงานและบุคคลต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศเพื่อให้ การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด
(๕) ช่วยติดตามการปฏิบัติตามมติของที่ประชุม หรือการปฏิบัติตามคำลั่งของผู้บริหารของ หน่วยงาน เพื่อการรายงานและเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาของผู้บังคับบัญชาต่อไป
(๖) วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี๋ที่กำหนด
(๗) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
(๘) ด้านการบริการตอบปัญหา ชี้แจงและให้คำแนะนำเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวซ้องได้ทราบข้อมูลและ เกิดความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ
(๙) ปฏิบัติงาน และสนับสบุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสบุนให้หน่วยงาน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้


นักวิชาการเงินและบัญชี

(๑) จัดทำบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน ทั้งเงินในงบประมาณและ เงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน เพื่อแสดงสถานะทางการเงินและใช้เป็นฐานข้อมูลที่ถูกต้องตามระเบียบ วิธีการบัญชีของส่วนราชการ
(๒) รวบรวมข้อมูล และรายงานการเงินของส่วนราชการ เพื่อพรัอมที่จะปรับปรุงข้อมูล ให้ถูกต้องและทันสมัย
(๓) ดูแลการรับและจ่ายเงิน สถานะทางการเงินตรวจสอบเอกสารสำคัญการรับ – จ่ายเงิน เพื่อให้การรับ – จ่ายเงินขององค์กรมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานถูกต้องตามระเบียบปฏิบัดิของราชการ
(๔) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธื์ตามที่กำหนด
(๕) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๖) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการ พิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ
(๗) ปฏิบัติงาน และสนับสมุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงาน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้


นักวิชาการอุตสาหกรรม

(๑) ศึกษาค้นคว้า รวบรวม และริเคราะห์ข้อมูลด้านอุตสาหกรรม และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อประกอบการวางแผนพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม พัฒนาการจัดการอุตสาหกรรม พัฒนา ศักยภาพการแข่งขันในตลาดอุตสาหกรรม หรือให้ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นให้สอดคล้อง กับสภาวการณ์เปลี่ยนแปลงด้านอุตสาหกรรมในปัจจุบัน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
(๒) ศึกษาวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ หรือกิจการด้านอุตสาหกรรม เพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้บังคับบัญชาในการส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรม ตลอดจนดำเนินการ ประสานงาน เพื่อให้มีผลสัมฤทธิ์ของงานตรงตามนโยบายของหน่วยงานที่กำหนดไว้
(๓) วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด
(๔) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้
(๕) ให้คำปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน อบรม หรือเผยแพร่ให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการในด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมด้านต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างให้ผู้ปฺระกอบการมีศักยภาพและ สามารถแช่งขันได้ในระดับประเทศและระดับสากล
(๖) ปฏิบัติงาน และสนับสนุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงาน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้


นักวิชาการพัสดุ

(๑) ร่วมปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุ ในการเก็บรักษา นำส่งการซ่อมแซม และ บำรุงรักษาพัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อให้ดำเนินการเป็นไปตามขั้นตอนของระเบียบ ว่าด้วยการพัสดุ
(๒) ช่วยจัดทำทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญ หลักฐานและเอกสาร เกี่ยวกับพัสดุ เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
(๓) ช่วยรวบรวมข้อมูล ประมวลผล สรุปความเห็นเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผู้บังคับบัญชาในหน่วยงาน
(๔) ร่วมปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุ ในการดูแลอาคารสถานที่ ยานพาหนะ ระบบ การรักษาความปลอดภัยของหน่วยงาน เพื่อให้พร้อมต่อการใช้งาน
(๕) ช่วยควบคุมการจัดทำทะเบียนสิ่งปลูกสร้างและอาคารราชพัสดุทั้งส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค รวมถึงให้คำปรึกษา แนะนำ วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับราชพัสดุในเบื้องต้น
(๖) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเกิดผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนดไว้
(๗) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริงด้านพัสดุ แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
(๘) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับด้านพัสดุ อยู่ในความรับผิดชอบในระดับ เบื้องด้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๙) ปฏิบัติงาน และสนับสบุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงาน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้


นิติกร

(๑) ดำเนินการเกี่ยวกับงานคดีแพ่ง ได้แก่ การจัดทำหนังสือติดตามทวงถามหนี้จากลูกหนี้ ที่ผิดสัญญา การประสานงานกับพนักงานอัยการในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคดี การประสานงานเกี่ยวกับ การไกล่เกลี่ย ให้การ สืบพยาน ในกระบวนพิจารณาคดีของศาล การดำเนินการและประสานงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการบังคับคดี การจัดเตรียมเอกสารหลักฐานประกอบการพิจารณาจำหน่ายหนี้สูญ เป็นด้น
(๒) ดำเนินการเกี่ยวกับงานคดีอาญา คดีปกครอง และงานคดีอื่นใดที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับงานนิติกรรมและสัญญา เช่น การยกร่างสัญญา การพิจารณาตรวจ แกไขร่างสัญญาที่กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเป็นคู่สัญญาให้ถูกต้องตามกฎหมายทุกฉบับที่เกี่ยวข้องกับสัญญานั้น และเป็นไปตามตัวอย่างสัญญาที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำหนด เป็นต้น
(๔) เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับบัญชาในการตอบข้อหารือหรือวินิจฉัยปัญหากฎหมายเกี่ยวกับ ระเบียบของทางราชการที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน
(๕) ปฏิบัติงาน และสนับสนุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงาน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้


วิศวกร

(๑) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์งานทางวิศวกรรมด้านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีการแปรรูป ทางการเกษตรในอุตสาหกรรมสาขาต่างๆ เพื่อนำมาส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรม และธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดกลาง ขนาดย่อม และชุมชนให้มีขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจได้อย่างทั่งยีน
(๒) ศึกษา สำรวจ กลุ่มเป้าหมาย และเตรียมความพร้อม กิจกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนา ผลิตภัณฑ์นวัตกรรม และด้านการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้นแบบที่ต้องใช้ความรู้เฉพาะด้าน
(๓) ศึกษา และติดตามข้อมูลข่าวสารสนเทศในอุตสาหกรรมสาขาต่างๆ เพื่อนำมาเผยแพร่ให้ ความรู้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และประชาชนทั่วไป
(๔) ปฏิบัติงานด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ และควบคุม ดูแล การทำงานของเครื่องมือ เครื่องจักรภายใต้ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรม (ITC)
(๕) วางแผนงานเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมสาขาต่างๆ เพื่อให้สามารถ ดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
(๖) วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบและร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป๋าหมายผลสัมฤทธี๋ที่กำหนด
(๗) ประสานงานกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสาขาต่างๆ เพื่อสร้างความร่วมมือหรือเสริมสร้างเครือข่ายในการส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ
(๘) ดำเนินการให้บริการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยการทดลองใช้งานผ่านเครื่องมือ เครื่องจักร ภายใต้ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรม (ITC) และความรู้ทางวิศวกรรม เพื่อสนองความต้องการผู้ประกอบการอุตสาหกรรมธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และประชาชนทั่วไป ให้สามารถนำวิธีการและองค์ความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการประกอบธุรกิจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถแข่งขันได้ในระดับประเทศและสากล
(๙) ให้คำปรึกษาแนะนำเบื้องต้นแก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมธุรกิจอุตสาหกรรม ขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และประชาชนทั่วไป ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม ด้วยเทคโนโลยี ที่เหมาะสม เพื่อเสริมสร้างให้ผู้ประกอบการมีศักยภาพและสามารถแข่งขันได้ ในระดับประเทศและสากล
(๑๐) ปฏิบัติงาน และสนับสนุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงาน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้


เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์

(๑) ควบคุม กำกับ ดูแล ให้คำปรึกษาแนะน์ว่กับหน่วยงานภายในต่าง ๆ เกี่ยวกับการใช้ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
(๒) วางแผน วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา บริหาร ดูแล ซ่อมบำรุง ระบบคอมพิวเตอร์และ เครือข่าย
(๓) ประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอกในการบูรณาการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง หน่วยงาน
(๔) ติดตามและประเมินผลเพื่อรวบรวมข้อมูลในการวางแผนบริหารจัดการระบบ คอมพิวเตอร์และเครือข่าย
(๕) ดูแลและปรับปรุงข้อมูลการเผยแพร่กิจกรรมของหน่วยงาน ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งเป็น ช่องทางหนึ่งในการประชาสัมพันธ์ของหน่วยงาน
(๖) ปฏิบัติงานเพื่อรองรับนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) ภายใต้ระบบนิเวศ ธุรกิจในยุคดิจิทัล (Digital Business Ecosystem)
(๗) ปฏิบัติงานตามนโยบาย Knowledge Society ภายใต้แผนงาน Digital SMEs เพื่อการจัดทำ และบริหารงานให้หน่วยงาน เป็นศูนย์กลางในการให้บริการข้อมูล องค์ความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา และส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ให้มีขีดความสามารถในการแช่งขันเพิ่มมากขึ้น และเป็น ศูนย์กลางในการให้บริการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในรูปแบบดิจิทัล ที่จะสามารถขยายจำนวน ช่องทางการให้บริการแก่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไต้เพิ่มมากขึ้น
(๘) ปฏิบัติงาน และสนับสนุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงาน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้


นักวิเทศสัมพันธ์

(๑) ร่าง โต้ตอบหนังสือราชการเป็นภาษาต่างประเทศ งานแปลเอกสารภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศ เพื่อไชในการติดต่อประสานงานกับองค์กรระหว่างประเทศ
(๒) ดูแลอำนวยความสะดวกในการจัดประชุมฝึกอบรมสัมมนา และงานพิธีการต่าง ๆ
(๓) จัดทำข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการสัมภาษณ์ คำกล่าวเปิดงานต่าง ๆ
(๔) เช้าร่วมประชุม จัดทำข้อมูล สรุปรายงานการประชุม เกี่ยวกับงานด้านความร่วมมือ ระหว่างประเทศ
(๕) ประสานการมาเยือนของผู้แทน และอำนวยความสะดวก รับ – ส่ง ต้อนรับ คณะผู้แทน จากต่างประเทศที่เดินทางมาร่วมการประชุม หารือราชการกับผู้บริหารระดับสูง พร้อมทำข่าวเผยแพร่ และ สรุปข้อคิดเห็นในเอกสารด้านต่างประเทศ
(๖) ปฏิบัติงาน และสนับสนุนงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนุนให้หน่วยงาน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรลุภารกิจที่กำหนดไว้

วิชาที่สอบ

นักจัดการงานทั่วไป

ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ ความสามารถ ทั่ก้ษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถทั่วไป (๑๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษา และ ด้านการใช้ภาษา
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๓ ความรู้ ความเข้าใจด้านภาษาอังกฤษ
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แกิไข เพิ่มเติม
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑๐๐ คะแนน)
๒.๑ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๒ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
๒.๓ ความรู้ ความเข้าใจด้านการบริหารจัดการสำนักงานและงานเลขานุการ


นักวิชาการเงินและบัญชี

ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถทั่วไป (๑๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษา และ ด้านการใช้ภาษา
.๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๓ ความรู้ ความเข้าใจด้านภาษาอังกฤษ
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้[ขเพิ่มเดิม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้1ข เพิ่มเติม
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัตข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑๐๐ คะแนน)
๒.๑ ความรู้เกี่ยวกับการบัญชี การเงินการบริหารจัดการ ระบบบริหารการเงินการคลัง ภาครัฐแปบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และการบริหารงบประมาณ
๒.๒ กฎ ระเบียบ และวินัยทางการเงินการคลังของรัฐ


นักวิชาการอุตสาหกรรม

ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถทั่วไป (๑๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ต้านความเข้าใจภาษา และ ด้านการใช้ภาษา
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๓ ความรู้ ความเช้าใจด้านภาษาอังกฤษ
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แล้ไขเพิ่มเดิม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไข เพิ่มเดิม
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อํมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑๐๐ คะแนน)
๒.๑ ความรู้ด้านการวิเคราะห์และการจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม
๒.๒ ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์เบื้องด้นและสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน
๒.๓ หลักการบริหารจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) และวิสาหกิจชุมชน


นักวิชาการพัสดุ

ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถที่’วไป (๑๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษา และ ด้านการใช้ภาษา
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๓ ความรู้ ความเข้าใจต้านภาษาอังกฤษ
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร่ราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไข เพิ่มเติม
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑00 คะแนน)
๒.๑ พระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๒ กฎกระทรวงซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหาร พัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๓ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๔ การประกาศรายละเอียดข้อมูลราคากลางและการคำนวณราคากลางเกี่ยวกับ การจัดชื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ


นิติกร

ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถที่’วไป (๑๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้1ไนการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษา และ ด้านการใช้ภาษา
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๓ ความรู้ ความเข้าใจด้านภาษาอังกฤษ
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกไขเพิ่มเดิม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แกไข เพิ่มเติม
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑๐๐ คะแนน)
๒.๑ ความรู้เกี่ยวกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
๒.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
๒.๓ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายปกครอง
๒.๔ ควว่มรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนพ:ศ. ๒๕๕๑ และที่แกิไข
เพิมเดิม


วิศวกร

ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถทั่วไป (๑๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษา และ ด้านการใช้ภาษา
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ฟางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๓ ความรู้ ความเข้าใจด้านภาษาอังกฤษ
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยฟนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แล้!ขเพิ่มเดิม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แล้ไข เพิ่มเดิม
๑.๗ ค;วามูรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑00 คะแนน)
๒.๑ ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาการวิศวกรรมที่จำเป็นในงานที่ปฏิบัติ
๒.๒ ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโครงการและการวางแผนงาน
๒.๓ ความรู้ความสามารถทางวิศวกรรมสำหรับการปฏิบติงานต้านการพัฒนาอุตสาหกรรม


เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์

ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒0๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถที่,วไป (๑00 คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษา และ ด้านการใช้ภาษา
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๓ ความรู้ ความเข้าใจด้านภาษาอังกฤษ
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกิไขเพิ่มเติม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไข เพิ่มเติม
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดิซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑๐๐ คะแนน)
๒.๑ ความรู้เกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
๒.๒ ความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์
๒.๓ ความรู้เกี่ยวกับฐานข้อมูล
๒.๔ ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
๒.๕ ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์


นักวิเทศสัมพันธ์

ทดสอบเพื่อประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถทั่วไป (๑๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับด้านการคิดคำนวณ ด้านเหตุผล ด้านความเข้าใจภาษา และ ด้านการใช้ภาษา
๑.๒ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง
๑.๓ ความรู้ ความเช้าใจด้านภาษาอังกฤษ
๑.๔ ความรู้เกี่ยวกับ โครงสร้าง บทบาทและภารกิจของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
๑.๕ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๑.๖ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญ้ติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไข เพิ่มเติม
๑.๗ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญ้ติช้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๘ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (๑00 คะแนน)
๒.๑ ความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ
๒.๒ ความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ สรุป และจับประเด็นสำคัญ

วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม :สมัครทางอินเทอร์เน็ต

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 9 พ.ย. – 14 พ.ย. 2563 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดไฟล์ “กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

แผนที่ | ประกาศ 1 | 2 | เว็บรับสมัคร |